-
-
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
-
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
-
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
-
ภาพเกี่ยวกับSafety
-
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
-
หัวหน้างาน
-
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์
-
ความปลอดภัยในวัด
-
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
-
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
-
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
-
หญิงตั้งครรภ์
-
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
ดับเพลิง
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
-
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
-
-
5ส
-
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
-
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก
-
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
-
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
-
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
-
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
-
5ส และ Visual Control
-
โปรเตอร์ 5 ส
-
การตรวจและประเมินผล
-
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
-
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
-
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
-
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
-
5ส เพื่อตัวเอง
-
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
-
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
-
ถังขยะ
-
ทีมคณะกรรมการ 5ส
-
ทำ 5 ส.ให้ประสบความสำเร็จ
-
1 วันกับ 5ส
-
Big Cleaning Day
-
5ส ที่มองไม่เห็น
-
คู่มือ 5ส
-
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
-
สีที่ใช้ในโรงงาน
-
Thailand 5S Award 2022
-
-
5ส โรงพยาบาล
-
5ส และความปลอดภัยในการทำงาน
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
การประเมินความเสี่ยง
-
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
-
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
-
การพูด
-
ทำไม ต้อง BBS
-
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
-
SOT : Safety Observation Tour
-
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
-
Safety with Krisana
-
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
-
ทฤษฎี ABC
-
ประสบการณ์ในการทำ BBS
-
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
-
ปิรามิดความปลอดภัย
-
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
-
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
-
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
-
-
SOT : Safety observation Tour
-
หยุด เรียก รอ
-
HORENSO
-
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
-
Safety Talk ก่อนทำงาน
-
Safety Talk
-
Safety Talk Show
-
การประเมินความเสี่ยง
-
โรคจากการทำงาน
-
การยศาสตร์
-
การสอบสวนอุบัติเหตุ
-
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
-
ภาวะผู้นํา (Leadership)
-
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
-
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
-
การเตรียมตัวออกรถ
-
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
-
ยืดเส้นยืดสาย... สำหรับผู้ขับขี่และผู้นั่งในรถยนต์
-
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับขี่รถยนต์
-
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
-
ปรับกระจกมองข้าง ลดอุบัติเหตุ
-
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
-
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
-
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
-
-
Kaizen&Ssfety
-
................................
-
การยศาสตร์เพื่อความปลอดภัย
-
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
-
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
-
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
-
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
-
6 ขั้นตอนที่จะต้องทำเมื่อเกิดเหตุสารเคมีหกล้น
-
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
-
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
-
ภาชนะบรรจุสารเคมีอันตราย ต้องติดฉลากเป็นภาษาไทย มีรายละเอียดอย่างน้อย 6 รายการ
-
SDS และ MSDS เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
-
การกำจัดสารเคมีหกรั่วไหล
-
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
-
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
-
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
การควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีในสถานที่ทำงานตามหลักการพื้นฐาน 3 ข้อ
-
PPE
-
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
-
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
-
-
ความปลอดภัยสารไวไฟ
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
-
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
-
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
-
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
-
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
-
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
-
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
-
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
-
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
-
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
-
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
ถังดับเพลิง
-
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
-
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
-
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
-
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
-
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
-
ความปลอดภัยรถบรรทุกขนส่ง
-
ความปลอดภัยยานพาหนะ
-
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
-
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
-
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
-
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
-
ความปลอดภัยรถตู้
-
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
-
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
-
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
-
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
-
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
-
เรื่องยางรถยนต์
-
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
-
-
ความปลอดภัยรถยก
-
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
-
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
-
อันตรายจากนั่งร้าน
-
คู่มือ
-
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
-
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
-
บันไดทำงานบนที่สูง
-
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
-
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
-
wi การทำงานนั่งร้าน
-
Check list ทำงานบนที่สูง
-
Check list งานก่อสร้าง
-
-
ความปลอดภัยทำงานบนที่สูง
-
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
-
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
-
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
-
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
-
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
-
WI งานที่อับอากาศ
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
-
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
-
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
-
-
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
-
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
-
ความปลอดภัยด้านเครน
-
ความปลอดภัยงานเชื่อม
-
ความปลอดภัยในโรงเรียน
-
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
-
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
-
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
-
การบรรยายด้านความปลอดภัย
-
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
-
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
-
อันตรายจากที่บ้าน
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
-
-
Lock Out Tag Out
-
บทความ Safety
-
ความปลอดภัยในการทำงาน
-
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
................................
-
อุบัติเหตุจากการทำงาน
-
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
-
อุบัติเหตุในการทำงาน
-
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุการระเบิด
-
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
-
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
-
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
-
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
-
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
-
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
-
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
-
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
-
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
-
3E และมาตรกรป้องกัน
-
-
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
-
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
-
Clip Safety & Accident
-
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
-
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
-
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
-
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
-
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
-
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
-
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
-
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอบรมพนักงานใหม่
-
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
-
คลิปLean Behavior Based Safety
-
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
-
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
-
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
-
-
................................
-
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
-
Safety Week
-
Safety Plan
-
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
-
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
-
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
-
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
-
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
-
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
-
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
-
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
-
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
-
-
คู่มือความปลอดภัย
-
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
-
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
-
คู่มือ รปภ
-
ทางหนีไฟ
-
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
-
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
-
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
-
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
-
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
คู่มือความปลอดภัย 2554
-
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
-
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
-
-
สิ่งแวดล้อม
-
PPE
-
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
-
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
-
Safety กับหน่วยงานราชาการ
-
คปอ
-
ผู้รับเหมา
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
-
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
-
รายงาน จปว
-
งาน จป
-
จป. คืออะไร
-
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
-
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
-
อบรมความปลอดภัย
-
หัวหน้างานและลูกน้อง
-
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
-
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
-
สิ่งแวดล้อม
-
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
สุขภาพร่างกาย
-
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
-
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
-
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
-
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
-
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
-
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
-
โครงการโรงงานสีขาว
-
บทความกำลังใจน้อง จป
-
The Mind Map กฏหมาย จป
-
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
-
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
-
แบบสปร.5
-
-
เพลงความปลอดภัย
-
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
-
การสอนงาน
-
ตลกขำขัน คลายเคลีย
-
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
-
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
-
วิธีสู่ความสำเร็จ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ถังดับเพลิง
กรณีโรงงานเปิดใหม่ไม่เคยมีถังดับก่อน การกำหนดระยะการติดตั้งถังดับเพลิง ควรติดตั้งยังไง หรือมีกฎหมายตัวไหนอ้างอิงไหม
โหลดข้อมูลด้านล่าง แล้วศึกษาดูจะมีความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
มาตรฐานเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่ (Portable fire exitinguisher)
1) ตามมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002–51 ภาคที่ 5 มาตรฐานระบบดับเพลิง หมวดที่ 3 เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่และการติดตั้งได้มีการกำหนดรายละเอียด ไว้ดังนี้ ประเภทของเพลิงและประเภทของการใช้งาน (ตารางที่ 1)
1.1) ประเภทของเพลิง: ประเภทของเพลิงแบ่งออกเป็น 5 ประเภทดังนี้ 1.1.1) ประเภท ก. (Class A) หมายถึง เพลิงที่เกิดขึ้นจากวัสดุติดไฟปกติ เช่น ไม้ ผ้า กระดาษ ยาง และพลาสติก 1.1.2) ประเภท ข. (Class B) หมายถึง เพลิงที่เกิดขึ้นจากของเหลวติดไฟปกติ เช่น น้ำมัน จารบี น้ำมันผสมสีน้ำมัน น้ำมันชักเงา น้ำมันดิน และแก๊สติดไฟต่างๆ 1.1.3) ประเภท ค. (Class C) หมายถึง เพลิงที่เกิดขึ้นจากอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น ไฟฟ้าลัดวงจร 1.1.4) ประเภท ง. (Class D) หมายถึง เพลิงที่เกิดขึ้นจากโลหะที่ติดไฟได้ เช่น แมกนีเซียม เซอร์โครเนียม โซเดียม ลิเธียม และโปแตสเซียม 1.1.5) ประเภท จ. (Class K) หมายถึง เพลิงที่เกิดขึ้นจากไขมันพืชหรือสัตว์ ตารางที่ 1 การเลือกใช้ชนิดของเครื่องดับเพลิงประเภทต่างๆ
(ที่มา มาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002–51, 2551: หน้า 147) 1.2) ประเภทการใช้งาน: การใช้งานของเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่ จะต้องเลือกขนาดและสารดับเพลิงให้เหมาะสมกับประเภทของเพลิงที่เกิดขึ้น 1.2.1) การติดตั้งเครื่องดับเพลิง จะต้องติดตั้งอยู่ในบริเวณที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนและสามารถหยิบฉวยเพื่อนำไปใช้ในการดับเพลิงได้โดยสะดวก เครื่องดับเพลิงจะต้องติดตั้งไม่สูงกว่า 1.40 เมตร จากระดับพื้นจนถึงหัวของเครื่องดับเพลิง 1.2.2) เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่ปกติจะมีขนาดบรรจุประมาณ 4.5 กิโลกรัม และไม่ควรจะเกิน 18.14 กิโลกรัม เพราะจะหนักเกินไป ยกเว้นชนิดที่มีล้อเข็น 1.2.3) การกำหนดความสามารถ (rating) ของเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่ ให้ใช้ตามมาตรฐานของ UL หรือสถาบันที่เชื่อถือหรือตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 332–เครื่องดับเพลิงยกหิ้ว ชนิดผงเคมีแห้ง ฉบับล่าสุด รายละเอียดเพิ่มเติมดูจากมาตรฐานการป้องกันอัคคีภัย วสท. 3002–51 หน้า 146–150 2) ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ได้กำหนดรายละเอียดสำหรับอาคารประเภทต่างๆ ดังนี้ 2.1) กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ได้กำหนดให้อาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องมีการติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงดังนี้ ระบบการติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง: ต้องติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่โดยให้มี 1 เครื่องต่อพื้นที่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ทุกระยะไม่เกิน 45 เมตร แต่ไม่น้อยกว่าชั้นละ 1 เครื่อง การติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่ต้องติดตั้งให้ส่วนบนสุดของตัวเครื่องสูงจากระดับพื้นอาคารไม่เกิน 1.50 เมตร ในจุดที่สามารถนำมาใช้ได้สะดวก และต้องอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ตลอดเวลา 2.2) กฎกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540) และฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) กำหนดให้อาคารทั่วไปที่มิใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ ต้องมีการติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงดังนี้ ระบบการติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง: ติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่โดยให้มี 1 เครื่องต่อพื้นที่ ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ทุกระยะไม่เกิน 45 เมตร แต่ไม่น้อยกว่าชั้นละ 1 เครื่อง การติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่นี้ ต้องติดตั้งให้ส่วนบนสุดของตัวเครื่องสูงจากระดับพื้นอาคารไม่เกิน 1.50 เมตร 3) การตรวจสอบสภาพความสามารถในการใช้งานของถังดับเพลิงตามคู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภัยของ วสท. ได้กำหนดเกี่ยวกับถังดังเพลิงไว้ดังนี้ 3.1) การติดตั้ง 3.1.1) ระยะห่างของถังดับเพลิงต้องไม่เกิน 45 เมตร 3.1.2) ระยะการเข้าถึงถังดับเพลิงต้องไม่เกิน 23 เมตร 3.1.3) ความสูงจากระดับพื้นถึงส่วนสูงสุดของถังดับเพลิงต้องไม่เกิน 1.40 เมตร 3.1.4) ความเหมาะสมต่อการยกหิ้วเคลื่อนย้าย ขนาดบรรจุที่ 10–20 ปอนด์ 3.1.5) ชนิดของเครื่องดับเพลิงต้องเหมาะสมกับวัสดุที่ติดไฟในแต่ละพื้นที่ 3.1.6) มีป้ายสัญลักษณ์ 3.2) การตรวจสอบ 3.2.1) ตรวจใบกำกับการตรวจสอบของบริษัทผู้ผลิตหรือบริษัทผู้ให้บริการ 3.2.2) ตรวจสอบมาตรวัดแรงดันต้องอยู่ในตำแหน่งพร้อมใช้งานดังแสดงในรูปที่ 1 3.2.3) ตรวจสอบน้ำหนักสุทธิของถังดับเพลิงต้องพร้อมใช้งาน ใช้ในกรณีเครื่องดับเพลิงเป็นชนิดที่ไม่มีมาตรวัดแรงดัน เช่น เครื่องดับเพลิงชนิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
รูปที่ 1 มาตรวัดแรงดันของแก๊สภายในถังดับเพลิงเพื่อใช้ขับดันสารเคมีออกจากถังบรรจุ (ที่มา คู่มือเทคนิคการตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภัย, 2551: หน้า 255) 4) ตามคู่มือป้องกัน–ระงับ–รับมืออัคคีภัย ของสำนักบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เสนอแนะวิธีการตรวจสอบสภาพถังดับเพลิงไว้ดังรูปที่ 2 ดังนี้
รูปที่ 2 การตรวจสอบถังดับเพลิง (ที่มา คู่มือการป้องกัน – ระงับ – รับมืออัคคีภัย. สำนักบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553: หน้า 26) |
-
กฎกระทรวง_กำหนดมาตรฐานในการบริหาร_จัดการ_และดำเนินการด้านความปลอดภัยฯ_เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย_พ.ศ._๒๕๕๕_(2).pdf91.61 K
-
กฎกระทรวง_กำหนดมาตรฐานในการบริหาร_จัดการ_และดำเนินการด้านความปลอดภัยฯ_เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย_พ.ศ._๒๕๕๕.pdf184.83 K
-
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน_เรื่อง_กำหนดมาตรฐานเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้.pdf415.69 K
-
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน_เรื่อง_กำหนดแบบรายงานผลการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ.pdf58.34 K
-
คำสั่งกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน_ที่_๑๒๙๒๕๕๖_เรื่องมอบหมายอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร_จัดการ_และดำเนินการด้านความปลอดภัยฯ_เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย_พ.ศ._๒๕๕๕.pdf154.49 K
-
แนวการจัดทำแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย_ตามกฎกระทรวงฯ_๒๕๕๕.pdf142.43 K
-
แนวทางการพิจารณาการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมหนีไฟ_ตามกฎกระทรวงฯ_๒๕๕๕_(145.71_kB).pdf145.71 K