-
-
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
-
5ส
-
บทความ 5 ส
-
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก2
-
มาตรฐานกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
-
5 ส ในโรงงาน ส สุขลักษณะ
-
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
-
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
-
โปรเตอร์ 5 ส
-
การตรวจและประเมินผล
-
มาตรฐานกลางพื้นที่ 5 ส
-
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
-
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
-
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
-
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
-
ภาพก่อน-หลัง ของการทำ 5 ส
-
คณะกรรมการ 5ส
-
5ส เพื่อตัวเอง
-
การส่งเสริมความปลอดภัย
-
-
5ส โรงแรม
-
5ส โรงพยาบาล
-
5 ส กับ ความปลอดภัย
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
การประเมินความเสี่ยง
-
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
-
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
-
ปิรามิด 3000-300-29-1
-
ทำไม ต้อง BBS
-
SOT : Safety Observation Tour
-
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
-
Safety with Krisana
-
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
-
ทฤษฎี ABC
-
ประสบการณ์ในการทำ BBS
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
-
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
-
ปิรามิดความปลอดภัย
-
-
SOT : Safety observation Tour
-
HORENSO
-
โครงการอนุรักษ์การได้ยิน
-
Safety Talk Show
-
Safety Talk ก่อนทำงาน
-
การประเมินความเสี่ยง
-
................................
-
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
-
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
-
คู่มือการเก็บรักษาสารเคมีและสารอันตราย
-
6 ขั้นตอนที่จะต้องทำเมื่อเกิดเหตุสารเคมีหกล้น
-
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
-
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
-
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
-
ภาชนะบรรจุสารเคมีอันตราย ต้องติดฉลากเป็นภาษาไทย มีรายละเอียดอย่างน้อย 6 รายการ
-
SDS และ MSDS เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
-
การกำจัดสารเคมีหกรั่วไหล
-
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
-
สารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย3
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
การควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีในสถานที่ทำงานตามหลักการพื้นฐาน 3 ข้อ
-
-
ความปลอดภัยยานพาหนะ
-
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
-
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
-
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
-
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
-
ความปลอดภัยรถตู้
-
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
-
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
-
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
-
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
-
แบบทดสอบวิธีการใช้รถ Forklift อย่างปลอดภัย
-
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
-
เรื่องยางรถยนต์
-
-
ความปลอดภัยเกี่ยวับอัคคีภัย
-
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
-
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
-
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
ชวนรู้ 8 วิธีการหนีไฟบนอาคารสูงอย่างถูกต้อง
-
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
-
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
-
ค้นหาข่าว ใส่คำค้นหาข่าว ค้นหาข่าวรู้เรื่องกฎหมายบันไดหนีไฟ
-
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
-
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
-
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านการยศาสตร์
-
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
-
ความปลอดภัยด้านเครน
-
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
-
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
-
อันตรายจากนั่งร้าน
-
คู่มือ
-
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
-
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
-
บันไดทำงานบนที่สูง
-
-
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
-
ความปลอดภัยในโรงเรียน
-
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
-
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
-
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
-
การบรรยายด้านความปลอดภัย
-
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
-
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
-
อันตรายจากที่บ้าน
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
-
-
Lock Out Tag Out
-
บทความ Safety
-
................................
-
อุบัติเหตุจากการทำงาน
-
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุการระเบิด
-
สิ่งของ ของใช้ส่วนตัวกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
โรงงานไฟไห้ม
-
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
-
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
-
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
-
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
-
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
-
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
-
-
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
-
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
-
Clip Safety & Accident
-
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
-
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
-
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
-
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
-
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
-
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
-
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
-
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอบรมพนักงานใหม่
-
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
-
คลิปLean Behavior Based Safety
-
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
-
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
-
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
-
-
................................
-
คู่มือความปลอดภัย
-
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
-
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
-
คู่มือ รปภ
-
ทางหนีไฟ
-
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
-
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
-
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
-
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
-
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
คู่มือความปลอดภัย 2554
-
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
-
-
Safety Plan
-
Safety Week
-
สิ่งแวดล้อม
-
PPE
-
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
-
ภาพเกี่ยวกับSafety
-
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
-
หัวหน้างาน
-
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์
-
ความปลอดภัยในวัด
-
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
-
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
-
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
-
หญิงตั้งครรภ์
-
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
ดับเพลิง
-
-
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
-
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
-
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
-
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
-
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
-
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
-
ป้ายภาษาต่างด้าว
-
-
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
-
Safety กับหน่วยงานราชาการ
-
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
-
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
ผู้รับเหมา
-
คปอ
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
-
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
-
งาน จป
-
จป. คืออะไร
-
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
-
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
-
อบรมความปลอดภัย
-
หัวหน้างานและลูกน้อง
-
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
-
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
-
สิ่งแวดล้อม
-
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
สุขภาพร่างกาย
-
ผู้รับเหมา
-
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
-
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
-
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
-
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
-
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
-
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
-
โครงการโรงงานสีขาว
-
บทความกำลังใจน้อง จป
-
The Mind Map กฏหมาย จป
-
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
-
สารเคมีอันตราย
-
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
-
-
เพลงความปลอดภัย
-
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
-
การสอนงาน
-
ตลกขำขัน คลายเคลีย
-
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
-
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
-
COVID-19
-
วิธีสู่ความสำเร็จ
-
ความปลอดภัยในการทำงาน
-
Kaizen&Ssfety
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
-
-
-
-
-
-
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
สำหรับ จป.วิชาชีพป้ายแดง ทุกท่าน ที่เริ่มงานใหม่ ในการเริ่มต้นทำงานในสถานประกอบการที่ไม่เคยมี จป.วิชาชีพทำงานอยู่เลย หรือมีการลาออกไปก่อนหน้าแล้ว จป.วิชาชีพมือใหม่หลายคน มักประสบปัญหาว่าจะทำอย่างไรก่อนอะไรหลังดี จะเริ่มต้นยังไง อันนี้ผมอยากให้ลองย้อนกลับไปนึกถึงตอนไปฝึกงาน ว่าตอนเราฝึกงานเราได้ทำอะไรบ้างตั้งแต่วันที่เริ่มฝึกงาน จนกระทั่ง Present โครงการที่ทำให้อาจารย์ที่ปรึกษาดู มันจะช่วยเราได้มาก ยิ่งเราเคยไปฝึกงานและมี จป.วิชาชีพ ที่เป็นพี่เลี้ยง หลายคนน่าจะได้สัมผัสเรียนรู้การทำงานจริงของ จป.วิชาชีพ ตลอดระยะเวลาที่ฝึกงาน 4-5 เดือน ว่าทำอะไรบ้าง ซึ่งหลักๆ ของงาน จป.วิชาชีพ คือ ตระหนัก ประเมิน ควบคุม ประมาณนี้ (อ้างอิงจากวิชาหลักสุขศาสตร์อุตาหกรรมฯ)
หัวใจหลักของ จป.วิชาชีพ คือต้องแม่นเรื่องกฎหมายและมาตรบานความปลอดภัยต่างๆ ซึ่งกฎหมายจะเป็นตัวบอกว่าเราจะต้องทำอะไรบ้างในสถานประกอบการ เพราะแผนงานความปลอดภัยฯเกือบ 100% ก็อ้างอิงมาจากกฎหมาย ดังนั้นวันแรกที่เราเริ่มงานเราควรทำ Checklist กฎหมายทุกฉบับที่เกี่ยวข้องกับงานความปลอดภัย แล้วก็ทำการเดินสำรวจหน้างาน (Walk Through Survey) แล้วรวบรวมข้อมูลสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ไม่สอดคล้องตามกฎหมาย (หากตอนไปฝึกงาน ได้ฝึกงานในโรงงานที่มีระบบ ISO14000, TS/OSHAS 18000 อะไรพวกนี้จะทำให้เราทำงานในขั้นตอนนี้ง่ายขึ้น) แล้วนำสภาพการทำงานที่สอดคล้องและไม่สอดคล้อง มาทำเป็นแผนงานความปลอดภัยฯ (หากใครมีไฟล์แผนงานความปลอดภัยฯ ที่ได้มาตอนฝึกงานหรือจากที่ใดก็ตาม ก็ลองเอามาประยุกต์ใช้ได้ เพราะส่วนใหญ่แผนงานความปลอดภัยฯ ก็มีรูปแบบหัวข้อกิจกรรมคล้ายๆกันทุกโรงงาน) จากนั้นก็นำเสนอนายจ้างให้ลงนามอนุมัติ แล้วก็เริ่มลุยตามแผนได้เลย โดยบางกิจกรรมที่ใช้งบประมาณเยอะ อาจทำเป็นตัวโครงการนำเสนอด้วย
หากโครงการ/กิจกรรมไหน ที่นายจ้างไม่ยอมให้ทำหรือถ่วงเวลาไม่เซ็นอนุมัติสักที่ (แช่ไว้ 2 เดือนขึ้นไปไม่ยอมเซ็นอนุมัติ นี้ถือว่านาน และอาจจะไม่ยอมให้ทำ ในความคิดผมนะ) ก็ทำเป็นเอกสารโครงการ มี จป.เป็นผู้เสนอ และให้ผู้จัดการโรงงานเป็นผู้ทบทวนเซ็นชื่อเรียบร้อย และตรงที่ให้นายจ้างเซ็น ให้มีช่องให้ติ๊ก อนุมัติ-ไม่อนุมัติ แล้วเราก็ถ่ายสำเนาหรือเก็บเอกสารนั้นไว้เป็นหลักฐาน ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้น ว่าเราได้เสนอแนะนายจ้างแล้ว เป็นการ save ตัวเราเองด้วยอีกทางท่าน จป ท่านใดมีข้อแนะนำดีๆ ก็ช่วยแนะนำด้วยนะครับ เพื่อเป็นแนวทางในการทำงานของเพื่อนร่วมอาชีพมือใหม่ของเรา ที่จะเติบโตเป็น จป ที่ดีในอนาคต
ขอบคุณบทความคิดเห็นของ คุณ
จป.พเนจร เวป jorpor.com
ตอนผมทำวันแรกๆ หัวหน้า จป.สอนให้สวมจิตวิญญาณความปลอดภัย และเอาใจใส่ในความปลอดภัยของพนักงาน เป็นอย่างแรกเลย แล้วศึกษาข้อมูลต่างให้เยอะ ว่างๆก็นั่งอ่าน WI ถ้าไม่มีให้รีบทำเลยนะ เวลาเดินตรวจความปลอดภัยก็พยายามให้สอดคล้องกัน พยายามทำ JSA แล้ว WI จะแข็งแรงขึ้น PPE ถ้าจำเป็นต้องมีต้องมีให้ครบ ช่วยได้จริงๆ เวลาเกิดอุบัติเหตุ เรื่องเจ็บตัวจะเกิดน้อยลงมากๆ สิ่งสำคัญเลยเรื่องการสื่อสารกับพนักงานและผู้บริหารถ้าจูนติดจะดีมาก ถ้าจูนเข้ากันยากจะเป็นปัญหาปวดหัวอย่างแรงเลยครับ
ขอบคุณบทความของ rekeos เวป jorpor.com
สวัสดีครับ
ยินดีให้คำปรึกษา ให้คำแนะนำ ในการรณรงค์ กิจกรรมต่าง ๆด้านความปลอดภัย ในการทำงานให้แก่พนักงาน เพื่อสร้างจิตสำนึก ตระหนักด้านความปลอดภัย จากประสบการณ์จากการทำงาน มาร่วม 30 ปี ยินดีแชร์ความรู้ พบปัญหาในการทำงาน บอกก็แล้ว แจ้งก็แล้ว พฤติกรรมเดิม ๆ ก็ยังทำอยู่ ไม่รู้จะคุยหรือปรึกษาใคร ที่อยากให้เขาปรับปรุงแก้ไข พฤติกรรมนั้นๆ พี่ขอย้้ำ จงดีใจ ยินดีรับปํญหานั้น ๆ คิดเชิงบวก เราทำได้ ฉันเป็นคนเก่ง ฉันฉลาด ฉันจะไปช่วยเหลือทุกคนที่ฉันพบ ... ปัญหามันมีเยอะ แต่จำไว้ ปัญหา คือ โอกาส ปัญหา คือ ความก้าวหน้า ปัญหา คือ ครู ปัญหา คือ บทเรียนของเรา คิดแบบนี้ จะได้มีแรงบันดาลใจให้เรา ต่อสู้ต่ออุปสรรคต่างๆ
หยิบไฟแช็กขึ้น มาลองจุดดู ไฟ มันร้อน มันอันตราย มันสามารถทำลายล้างได้เสมอ อย่าให้ลมปากของคนบางคน ที่ไม่มีคุณค่า ราคา มาเป่าแล้วทำให้ไฟ นั้นมันดับลง " อย่าเอาลมปากใครบางคน มาดับความฝันอันยิ่งใหญ่่ของเรา "
น้อง ๆ จป จบใหม่ ทฤษฏีอาจเก่ง ประสบการณ์ หรือภาคปฏิบัติ การทำงานอาจยังน้อย อย่ากลัว หรือ อาย หรือกลัวเสียฟอร์มจบปริญญา ที่จะไปเรียนรู้ กับคนที่ต่ำกว่า เราย่อมโง่ ก่อน ฉลาด พูดให้เขาคิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ จำ พูดให้เป็น กับคำเหล่านี้ สวัสดีคี.... ขอบคุณ ขอโทษ เปิดโอกาสตัว เปิดใจ เป็นกันเอง ให้เกียรติ์ ฟังมากกว่าพูด ดี เก่ง เยี่ยม หัดให้เป็นนิสัย
เมื่อได้รับแจ้ง รายการ ทุกครั้ง เมื่อไปรายการให้คนอื่นทราบ อย่าลืมแจ้งคนที่มารายงานเราด้วยว่า เราได้ทำอะไรไปบ้าง อยู่ในขั้นตอนไหน พูดคุยความก้าวหน้างานที่เขามาบอกเราให้ เขาทราบ ว่าเราได้แอ๊ดชั่นไป คราวหน้าเขาจะได้มาพูดคุยกับเราใหม่อีก
พี่ยินดีให้คำปรึกษา แนะนำ เท่าที่พอรู้นะครับ พี่ไม่ใช่คนเก่ง แต่พี่ชอบเป็นผู้ให้ นะครับ เพื่อเป็นไอเดียในการสร้้างสรรค์ พัฒนา ปรับปรุง แก้ไขครับ บาย ...
winai.d@fujiace.com , winaibangpoo@gmail.com
มือถือ 0855101555
ผมเชื่อว่า คุณ คือ คนเก่ง คุณฉลาด คุณทำได้ คุณจะช่วยให้ทุกคนปลอดภัย ผมมั่นใจครับ