-
-
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
-
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
-
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
-
ภาพเกี่ยวกับSafety
-
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
-
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์
-
ความปลอดภัยในวัด
-
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
-
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
-
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
-
หญิงตั้งครรภ์
-
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
ดับเพลิง
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
-
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
-
-
5ส
-
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
-
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก
-
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
-
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
-
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
-
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
-
5ส และ Visual Control
-
โปรเตอร์ 5 ส
-
การตรวจและประเมินผล
-
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
-
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
-
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
-
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
-
5ส เพื่อตัวเอง
-
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
-
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
-
ถังขยะ
-
ทีมคณะกรรมการ 5ส
-
ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการทำ 5ส ให้ประสบความสำเร็จ
-
1 วันกับ 5ส
-
Big Cleaning Day
-
5ส ที่มองไม่เห็น
-
คู่มือ 5ส
-
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
-
สีที่ใช้ในโรงงาน
-
Thailand 5S Award 2022
-
-
5ส โรงพยาบาล
-
5ส เพื่อความปลอดภัย
-
Safety Mind การสร้างจิตสำนึกความปลอดภัย
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
-
สาระสำคัญของการประเมินความเสี่ยงอันตรายของสวัสดิการจังหวัดชลบุรี
-
ผู้ชำนาญการฯกับสรุปสาระการประเมินความเสี่ยง
-
การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
-
การวิเคราะห์เพื่อควบคุมความสูญเสีย
-
การป้องกันอุบัติเหตุ 3 E
-
วิธีปลูกฝังความปลอดภัยให้พนักงาน
-
7 เทคนิควิธี การชี้บ่งอันตรายใช้สำหรับการประเมินความเสี่ยง
-
-
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
-
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
-
การพูด
-
ทำไม ต้อง BBS
-
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
-
SOT : Safety Observation Tour
-
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
-
Safety with Krisana
-
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
-
ทฤษฎี ABC
-
ประสบการณ์ในการทำ BBS
-
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
-
ปิรามิดความปลอดภัย
-
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
-
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
-
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
-
-
SOT : Safety observation Tour
-
หยุด เรียก รอ
-
HORENSO
-
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
-
Safety Talk ก่อนทำงาน
-
Safety Talk
-
Safety Talk Show
-
โรคจากการทำงาน
-
การยศาสตร์
-
การสอบสวนอุบัติเหตุ
-
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
-
ภาวะผู้นํา (Leadership)
-
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
-
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
-
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
-
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
-
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
-
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
-
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
-
แนะนำวิธีรับมือเหตุฉุกเฉินบนรถบัสเบื้องต้นครับ
-
มาตรการป้องกันและระงับเหตุไฟไหม้รถบัสรับส่งนักเรียน
-
มารยาทของพนักงานขับรถบรรทุก
-
อุบัติเหตุบนถนน ภัยจากการเดินทาง แนะนำผู้ขับขี่ปลอดภัย
-
-
Kaizen&Ssfety
-
แผ่นดินไหว
-
................................
-
การยศาสตร์เพื่อความปลอดภัย
-
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
-
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
-
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
-
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
-
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
-
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
-
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
-
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
-
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
-
PPE
-
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
-
เกร็ดความรู้จาก สสปท
-
กฏหมายเคมี
-
การรายงานสารเคมีอันตราย
-
-
ความปลอดภัยสารไวไฟ
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
-
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
-
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
-
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
-
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
-
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
-
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
-
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
-
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
-
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
-
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
ถังดับเพลิง
-
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
-
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
-
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
-
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
-
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
-
ความปลอดภัยรถบรรทุกขนส่ง
-
ความปลอดภัยยานพาหนะ
-
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
-
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
-
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
-
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
-
ความปลอดภัยรถตู้
-
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
-
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
-
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
-
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
-
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
-
เรื่องยางรถยนต์
-
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
-
-
ความปลอดภัยรถยก
-
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
-
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
-
อันตรายจากนั่งร้าน
-
คู่มือ
-
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
-
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
-
บันไดทำงานบนที่สูง
-
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
-
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
-
wi การทำงานนั่งร้าน
-
Check list ทำงานบนที่สูง
-
Check list งานก่อสร้าง
-
-
ความปลอดภัยทำงานบนที่สูง
-
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
-
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
-
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
-
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
-
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
-
WI งานที่อับอากาศ
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
-
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
-
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
-
-
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
-
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
-
ความปลอดภัยด้านเครน
-
ความปลอดภัยงานเชื่อม
-
ความปลอดภัยในโรงเรียน
-
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
-
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
-
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
-
การบรรยายด้านความปลอดภัย
-
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
-
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
-
อันตรายจากที่บ้าน
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
-
-
ความปลอดภัยด้านรังสี
-
Lock Out Tag Out
-
บทความ Safety
-
ความปลอดภัยในการทำงาน
-
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ.
-
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
................................
-
อุบัติเหตุจากการทำงาน
-
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
-
อุบัติเหตุในการทำงาน
-
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุการระเบิด
-
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
-
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
-
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
-
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
-
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
-
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
-
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
-
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
-
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
-
3E และมาตรกรป้องกัน
-
-
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
-
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
-
Clip Safety & Accident
-
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
-
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
-
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
-
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
-
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
-
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
-
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
-
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอบรมพนักงานใหม่
-
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
-
คลิปLean Behavior Based Safety
-
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
-
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
-
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
-
-
................................
-
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
-
บอร์ดความปลอดภัย
-
Safety Week
-
Safety Plan
-
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
-
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
-
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
-
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
-
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
-
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
-
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
-
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
-
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
-
-
คู่มือความปลอดภัย
-
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
-
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
-
คู่มือ รปภ
-
ทางหนีไฟ
-
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
-
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
-
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
-
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
-
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
คู่มือความปลอดภัย 2554
-
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
-
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
-
แจกไฟล์หนังสือด้านความปลอดภัย
-
-
สิ่งแวดล้อม
-
PPE
-
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
-
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
-
Safety กับหน่วยงานราชาการ
-
คปอ
-
ผู้รับเหมา
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
-
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
-
รายงาน จปว
-
งาน จป
-
จป. คืออะไร
-
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
-
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
-
อบรมความปลอดภัย
-
หัวหน้างานและลูกน้อง
-
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
-
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
-
สิ่งแวดล้อม
-
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
สุขภาพร่างกาย
-
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
-
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
-
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
-
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
-
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
-
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
-
โครงการโรงงานสีขาว
-
บทความกำลังใจน้อง จป
-
The Mind Map กฏหมาย จป
-
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
-
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
-
แบบสปร.5
-
-
เพลงความปลอดภัย
-
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
-
การสอนงาน
-
ตลกขำขัน คลายเคลีย
-
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
-
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
-
วิธีสู่ความสำเร็จ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
17 สิ่งควรทำก่อนนอน และตื่นนอน แล้วชีวิตจะแฮปปี้ขึ้น !

ช่วงเวลาก่อนเข้านอน และหลังตื่นนอน เป็นช่วงเวลาที่เราได้อยู่กับตัวเอง เราก็ควรตักตวงความสุขจากช่วงเวลาเหล่านี้ มาเช็กกันว่า มีพฤติกรรมก่อนนอน และหลังตื่นนอนอะไรบ้าง ที่แค่สละเวลาเพียง 5 นาที ก็ทำให้แฮปปี้ได้ตลอดทั้งวัน
การนอนหลับสนิทตลอดคืน ตื่นขึ้นมาแล้วรู้สึกสดชื่น … เชื่อว่ากิจวัตรประจำวันของใครหลายคนอาจไม่เป็นแบบนี้ บางคนทำงานอยู่หน้าคอมพิวเตอร์ตลอดทั้งคืน บางคนมีเรื่องให้คิดจนนอนไม่หลับ หากชีวิตเป็นแบบนี้แค่วันสองวันคงไม่กระทบต่อสุขภาพกายใจเท่าไรนัก แต่ถ้าเป็นแบบนี้ทุกวันเราอาจมีคุณภาพชีวิตที่แย่ลงได้ กระปุกดอทคอมจึงอยากแนะนำ 17 เคล็ดลับดี ๆ เปลี่ยนชีวิตให้แฮปปี้ขึ้น เพียงแค่ปรับพฤติกรรมการนอน และการตื่นนอนนิดหน่อยเท่านั้น มาอ่านกันเลย
8 สิ่งที่ควรทำก่อนนอน
การนอนหลับสนิทในตอนกลางคืนเป็นสิ่งสำคัญมาก เพราะส่งผลต่อสุขภาพกายและใจของเราด้วย ลองมาดู 8 สิ่งที่ควรทำก่อนนอน เพื่อชัตดาวน์ร่างกาย ให้ได้พักผ่อนอย่างเต็มที่จริง ๆ


ความหิวเป็นศัตรูของความง่วง หากปล่อยให้ตัวเองหิว คงหลับไม่ลงแน่ ๆ ซึ่งวิธีกินให้ง่วงแบบไม่อ้วน ได้สุขภาพนั้นง่ายมาก นั่นคือ การเลือกกินอาหารที่มีสารสื่อประสาทกรดอะมิโนทริปโตเฟน และสารเซโรโทนิน เช่น เนยแข็งสด (Cottage cheese) กล้วย เชอร์รี และกีวี

เราอยู่กับแสงสว่างมาเกือบตลอดทั้งวันแล้ว ก่อนเข้านอนก็ควรจะอยู่ในบรรยากาศที่มืด มีแสงน้อยบ้าง เพื่อส่งสัญญาณให้ระบบนาฬิกาชีวิตในร่างกายรู้ว่า เราจะพักผ่อนแล้ว โดยการนอนปิดไฟ งดเล่นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นนอนเล่น สมาร์ทโฟน อ่านหนังสือจากแท็บเล็ต หรือแม้แต่นอนปิดไฟดูทีวี เป็นต้น


หากอยากนอนแบบเต็มอิ่มตลอดทั้งคืน ก่อนเข้านอนประมาณ 1-2 ชั่วโมง ควรปิดรับการสื่อสารจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิด โดยเฉพาะสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และไอแพด ด้วยการปรับโหมดการรับข้อความเป็น Airplane Mode แจ้งเตือนแบบสั่น หรือ ปิดเครื่องไปเลย วิธีนี้จะช่วยให้คลื่นสมองไม่ถูกรบกวนจากเสียงแจ้งเตือน เราก็จะนอนหลับได้ดีขึ้น โดยไม่ต้องสะดุ้งตื่นกลางคันเพราะเสียงรบกวน

การยืดเส้นยืดสายก่อนเข้านอน ช่วยให้เรานอนหลับได้ดีขึ้น หากใครที่เป็นคนหลับยาก ยิ่งต้องลองทำดู การขยับร่างกายนิด ๆ หน่อย ๆ ก่อนนอน เช่น ทำโยคะ ซิทอัพ กระโดดเชือก เล่นฮูลาฮูป ในเวลาประมาณ 10-15 นาที ถือเป็นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ป้องกันการเกิดเป็นตะคริวและเส้นเอ็นหดเกร็งในขณะที่เราหลับ


เราใช้งานสมองมาตลอดทั้งวันแล้ว ก็ควรให้สมองได้พักผ่อนบ้าง ด้วยการทำสมาธิก่อนนอน แค่ลองนั่งหลับตา โดยไม่ต้องคิดอะไรนานประมาณ 10-15 นาที สมาธิจะช่วยลดทอนความรู้สึกด้านลบต่าง ๆ ที่อยู่ในใจเรา เช่น คิดมาก วิตกกังวล โกรธ เศร้าซึม เมื่อสมองไม่มีเรื่องต้องคิด ก็จะหลับง่ายขึ้น

การเขียนบันทึกเล็ก ๆ น้อย ๆ ถึงเรื่องราวที่เราประทับใจเพียงเรื่องเดียว ก็ช่วยผ่อนคลายจิตใจได้ ทำให้เราเข้านอนได้อย่างสบายใจ ไม่มีเรื่องราวให้รกหัว เพราะการเขียนบันทึก็เหมือนเป็นการระบายความรู้สึกอย่างหนึ่ง แนะนำว่า อย่าเขียนเยอะเกินไป เพราะจะดูเป็นคนไร้สาระ ควรเขียนให้พอดี ๆ แค่ประมาณ 1-3 บรรทัดก็พอแล้ว


การนอนที่ทำให้สุขภาพดีนั้น การนอนต้องมีคุณภาพด้วย หากใครที่แต่ละคืนนอนไม่ค่อยหลับเลย ลองเช็กดูว่า เรานอนด้วยความสบายที่สุดหรือไม่ เช่น สวมชุดนอนที่สบาย ไม่รัดตัว ผ้าปูที่นอน หมอน ผ้าห่ม และหมอนข้างมีความนุ่ม ที่สำคัญคือต้องสะอาด ไม่มีฝุ่น ไม่มีสิ่งของวางเกะกะบนเตียงนอน รวมถึงบรรยากาศในห้องนอนที่ควรไม่มีแมลง หรือยุงคอยรบกวน

การฟังเพลงทำนองสบาย ๆ รื่นหู ก็ช่วยให้เรานอนหลับฝันดี จากผลการวิจัยของประเทศจีนในปี 2012 เผยว่า การฟังเพลงประเภท Pink Nose หรือ เพลงที่มีคลื่นความถี่ต่ำ ซึ่งเพลงที่มีคลื่นความถี่ต่ำนั้นส่งผลดีต่อสมอง ช่วยเพิ่มการเรียนรู้และจดจำ อีกทั้งท่วงทำนองที่สบาย ๆ ฟังง่าย ทำให้สมองหลั่งสารเคมีแห่งความสุขออกมา เมื่อในสมองไม่มีเรื่องต้องคิด เราก็จะหลับง่ายขึ้น
9 สิ่งควรทำเมื่อตื่นนอน
กิจวัตรประจำวันหลังตื่นนอน ก็มีผลกระทบต่อคุณภาพการทำงานตลอดทั้งวันของเรา หากอยากเป็นคนที่มีคุณภาพ ลองทำตาม 9 เทคนิคเพิ่มความพร้อมให้ร่างกายจากเราดู


เมื่อเราตื่นนอนแล้ว อย่าเพิ่งเดินเข้าครัวชงกาแฟรสชาติเข้ม ๆ ดื่ม หรือกินอาหารเช้าแสนอร่อยในทันที ควรดื่มน้ำเปล่าให้ได้ 1 แก้วก่อนเป็นอันดับแรก และควรเป็นน้ำอุ่น หรือ น้ำที่อุณหภูมิห้อง น้ำเปล่าจะช่วยเพิ่มความสดชื่นให้กับร่างกาย ลดอาการงัวเงียได้

หลังตื่นนอนแล้ว ลองสละเวลาสัก 5 นาที วอร์มอัพร่างกายให้ตื่นตัว พร้อมใช้งาน อาจเริ่มจากบิดขี้เกียจ ยืดแขน ยืดขา สะบัดมือและเท้า จากนั้นก็สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ

ความพร้อมขั้นต่อไปที่ควรทำหลังตื่นนอนคือ เช็กอีเมล เปิดปฏิทิน หรือ เปิดดูตารางนัดหมาย เพื่อเตือนความจำว่า วันนี้ต้องทำอะไรบ้าง เราจะได้เตรียมตัวสำหรับสิ่งสำคัญนั้น ๆ


การจดบันทึกสิ่งที่ต้องทำในแต่ละวัน ก็เป็นอีกเรื่องที่ไม่ควรละเลย เพราะจะทำให้ประสิทธิภาพการทำงานดีขึ้น เราจะทำงานอย่างมีเป้าหมายมากขึ้น จัดการไปตามลำดับได้อย่างมีทิศทาง ข้อดีของการจดบันทึกคือ ช่วยเตือนความจำได้ว่าเราไม่หลงลืมทำสิ่งสำคัญ

ว่ากันว่า คนแรกที่เราคิดถึงหลังตื่นนอนตอนเช้านั้น เป็นคนสำคัญ ดูท่าจะจริง เพราะการคิดถึงคนที่เรารักในตอนเช้ามักทำให้เรามีความสุข รู้สึกกระชุ่มกระชวยหัวใจ ยิ้มออกมาโดยไม่รู้ตัว อาการเหล่านี้ล้วนเป็นแรงบันดาลใจในการทำงานได้ดี


หลังตื่นนอนแล้ว อย่าเพิ่งเปิดรับข่าวสารใด ๆ แต่ขอให้เข้าหาธรรมชาติ ปรับอารมณ์ของเราให้ดีขึ้นก่อน โดยการออกไปสูดอากาศยามเช้า ชื่นชมความงามของดอกไม้ และต้นไม้ใบหญ้า การได้มองสีเขียวจากธรรมชาติจะช่วยเพิ่มความสบายใจ มีอารมณ์ดี เบิกบานตลอดวัน

มีหลายงานวิจัยที่มีความเห็นตรงกันว่า การกอด เป็นวิธีการเพิ่มความสุขที่ง่ายที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการกอดคนรัก คนในครอบครัว เพื่อน หรือแม้แต่สัตว์เลี้ยงในบ้าน เมื่อกอดแล้วจะรับรู้ได้ว่า สมองเราปลอดโปร่ง คิดแต่สิ่งที่ดี ๆ มากขึ้น


การยิ้มให้ตัวเองหน้ากระจก เป็นเหมือนภูมิคุ้มกันจิตใจอย่างหนึ่ง ที่ทำให้เราแข็งแกร่งขึ้น การยิ้มแล้วมองดูตัวเอง ก็ทำให้เรามีความสุข แต่อีกสิ่งหนึ่งที่เราจะได้คือ ความมั่นใจในตัวเอง ลองฝึกยิ้ม แล้วพูดถึงแต่สิ่งดี ๆ กับตัวเอง จะทำให้เรามีพลังใจในการใช้ชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างประหลาด ใครไม่เชื่อ เราขอแนะนำให้ลองทำดู

ทันทีที่เราลืมตาตื่นขึ้นมา สมองของเรายังไม่ทันประมวลเรื่องราวอะไรมากนัก ช่วงเวลานี้แหละที่เราควรเติมเรื่องดี ๆ ให้สมองได้จดจำ ด้วยการเปิดเพลงที่อยากฟัง จะช่วยให้เรารู้สึกเบิกบาน แจ่มใสไปตลอดทั้งวัน
ความสุขในชีวิตของเรานั้น แท้จริงแล้วไม่ต้องไขว่คว้าอะไรให้ยุ่งยากเลย แค่ลองปรับกิจวัตรประจำวันก่อนนอน และหลังตื่นนอนของตัวเองเท่านั้น ก็ทำให้ความสุขก็อยู่กับเรานานขึ้นแล้ว
คัดลอกจาก เวปไซด์ Kapook.com