-
-
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
-
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
-
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
-
ภาพเกี่ยวกับSafety
-
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
-
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์
-
ความปลอดภัยในวัด
-
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
-
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
-
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
-
หญิงตั้งครรภ์
-
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
ดับเพลิง
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
-
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
-
-
5ส
-
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
-
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก
-
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
-
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
-
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
-
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
-
5ส และ Visual Control
-
โปรเตอร์ 5 ส
-
การตรวจและประเมินผล
-
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
-
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
-
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
-
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
-
5ส เพื่อตัวเอง
-
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
-
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
-
ถังขยะ
-
ทีมคณะกรรมการ 5ส
-
ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการทำ 5ส ให้ประสบความสำเร็จ
-
1 วันกับ 5ส
-
Big Cleaning Day
-
5ส ที่มองไม่เห็น
-
คู่มือ 5ส
-
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
-
สีที่ใช้ในโรงงาน
-
Thailand 5S Award 2022
-
-
5ส โรงพยาบาล
-
5ส เพื่อความปลอดภัย
-
Safety Mind การสร้างจิตสำนึกความปลอดภัย
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
-
สาระสำคัญของการประเมินความเสี่ยงอันตรายของสวัสดิการจังหวัดชลบุรี
-
ผู้ชำนาญการฯกับสรุปสาระการประเมินความเสี่ยง
-
การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
-
การวิเคราะห์เพื่อควบคุมความสูญเสีย
-
การป้องกันอุบัติเหตุ 3 E
-
วิธีปลูกฝังความปลอดภัยให้พนักงาน
-
7 เทคนิควิธี การชี้บ่งอันตรายใช้สำหรับการประเมินความเสี่ยง
-
-
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
-
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
-
การพูด
-
ทำไม ต้อง BBS
-
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
-
SOT : Safety Observation Tour
-
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
-
Safety with Krisana
-
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
-
ทฤษฎี ABC
-
ประสบการณ์ในการทำ BBS
-
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
-
ปิรามิดความปลอดภัย
-
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
-
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
-
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
-
-
SOT : Safety observation Tour
-
หยุด เรียก รอ
-
HORENSO
-
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
-
Safety Talk ก่อนทำงาน
-
Safety Talk
-
Safety Talk Show
-
โรคจากการทำงาน
-
การยศาสตร์
-
การสอบสวนอุบัติเหตุ
-
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
-
ภาวะผู้นํา (Leadership)
-
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
-
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
-
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
-
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
-
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
-
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
-
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
-
แนะนำวิธีรับมือเหตุฉุกเฉินบนรถบัสเบื้องต้นครับ
-
มาตรการป้องกันและระงับเหตุไฟไหม้รถบัสรับส่งนักเรียน
-
มารยาทของพนักงานขับรถบรรทุก
-
อุบัติเหตุบนถนน ภัยจากการเดินทาง แนะนำผู้ขับขี่ปลอดภัย
-
-
Kaizen&Ssfety
-
แผ่นดินไหว
-
................................
-
การยศาสตร์เพื่อความปลอดภัย
-
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
-
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
-
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
-
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
-
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
-
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
-
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
-
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
-
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
-
PPE
-
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
-
เกร็ดความรู้จาก สสปท
-
กฏหมายเคมี
-
การรายงานสารเคมีอันตราย
-
-
ความปลอดภัยสารไวไฟ
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
-
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
-
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
-
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
-
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
-
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
-
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
-
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
-
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
-
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
-
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
ถังดับเพลิง
-
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
-
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
-
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
-
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
-
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
-
ความปลอดภัยรถบรรทุกขนส่ง
-
ความปลอดภัยยานพาหนะ
-
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
-
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
-
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
-
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
-
ความปลอดภัยรถตู้
-
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
-
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
-
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
-
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
-
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
-
เรื่องยางรถยนต์
-
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
-
-
ความปลอดภัยรถยก
-
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
-
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
-
อันตรายจากนั่งร้าน
-
คู่มือ
-
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
-
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
-
บันไดทำงานบนที่สูง
-
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
-
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
-
wi การทำงานนั่งร้าน
-
Check list ทำงานบนที่สูง
-
Check list งานก่อสร้าง
-
-
ความปลอดภัยทำงานบนที่สูง
-
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
-
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
-
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
-
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
-
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
-
WI งานที่อับอากาศ
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
-
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
-
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
-
-
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
-
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
-
ความปลอดภัยด้านเครน
-
ความปลอดภัยงานเชื่อม
-
ความปลอดภัยในโรงเรียน
-
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
-
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
-
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
-
การบรรยายด้านความปลอดภัย
-
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
-
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
-
อันตรายจากที่บ้าน
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
-
-
ความปลอดภัยด้านรังสี
-
Lock Out Tag Out
-
บทความ Safety
-
ความปลอดภัยในการทำงาน
-
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ.
-
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
................................
-
อุบัติเหตุจากการทำงาน
-
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
-
อุบัติเหตุในการทำงาน
-
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุการระเบิด
-
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
-
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
-
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
-
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
-
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
-
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
-
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
-
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
-
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
-
3E และมาตรกรป้องกัน
-
-
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
-
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
-
Clip Safety & Accident
-
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
-
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
-
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
-
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
-
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
-
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
-
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
-
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอบรมพนักงานใหม่
-
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
-
คลิปLean Behavior Based Safety
-
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
-
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
-
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
-
-
................................
-
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
-
บอร์ดความปลอดภัย
-
Safety Week
-
Safety Plan
-
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
-
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
-
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
-
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
-
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
-
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
-
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
-
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
-
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
-
-
คู่มือความปลอดภัย
-
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
-
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
-
คู่มือ รปภ
-
ทางหนีไฟ
-
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
-
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
-
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
-
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
-
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
คู่มือความปลอดภัย 2554
-
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
-
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
-
แจกไฟล์หนังสือด้านความปลอดภัย
-
-
สิ่งแวดล้อม
-
PPE
-
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
-
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
-
Safety กับหน่วยงานราชาการ
-
คปอ
-
ผู้รับเหมา
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
-
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
-
รายงาน จปว
-
งาน จป
-
จป. คืออะไร
-
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
-
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
-
อบรมความปลอดภัย
-
หัวหน้างานและลูกน้อง
-
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
-
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
-
สิ่งแวดล้อม
-
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
สุขภาพร่างกาย
-
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
-
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
-
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
-
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
-
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
-
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
-
โครงการโรงงานสีขาว
-
บทความกำลังใจน้อง จป
-
The Mind Map กฏหมาย จป
-
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
-
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
-
แบบสปร.5
-
-
เพลงความปลอดภัย
-
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
-
การสอนงาน
-
ตลกขำขัน คลายเคลีย
-
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
-
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
-
วิธีสู่ความสำเร็จ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
หน้าแรก > ความปลอดภัยในโรงเรียน > อุบัติเหตุในโรงเรียน > 10 จุดเสี่ยงในโรงเรียน ที่มักเกิดอุบัติภัยกับเด็ก
10 จุดเสี่ยงในโรงเรียน ที่มักเกิดอุบัติภัยกับเด็ก
10 จุดเสี่ยงในโรงเรียน ที่มักเกิดอุบัติภัยกับเด็ก
เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม
ในรั้วโรงเรียนมีบริเวณไหนบ้างที่ควรระวัง มาดู 10 จุดเสี่ยงที่โรงเรียนต้องป้องกันให้ดี ก่อนเกิดเหตุไม่คาดฝัน ทำให้เด็กได้รับอันตราย
นอกจากบ้านแล้ว โรงเรียนก็ไม่ต่างจากบ้านที่สองของเด็ก ๆ เลยนะคะ เพราะตั้งแต่เช้าจรดเย็น เด็ก ๆ ต้องใช้เวลาส่วนใหญ่ทำกิจกรรมอยู่ในโรงเรียนทั้งนั้น แต่ด้วยนิสัยซุกซน รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ก็อาจทำให้พวกเขาประสบอุบัติเหตุหรืออุบัติภัยที่มีสิทธิ์เกิดขึ้นในรั้วโรงเรียนก็เป็นได้
แบบนี้คงต้องเป็นหน้าที่ของโรงเรียนแล้วล่ะ ที่จะช่วยลดความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับเด็ก ๆ ได้ โดยเฉพาะ 10 จุดเสี่ยงต่อไปนี้ที่ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แนะนำให้โรงเรียนต้องหมั่นตรวจสอบดูแลและเฝ้าระวังให้มากที่สุด เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิด ไปดูกันว่ามีจุดไหนบ้าง
สนามเด็กเล่น
พื้นที่สนามเด็กเล่นเป็นบริเวณที่เด็ก ๆ ชอบเป็นพิเศษ เพราะมีเครื่องเล่นให้สนุกกันเต็มที่ และยิ่งสนุกก็ยิ่งขาดความระวัง ดังนั้น สิ่งที่โรงเรียนต้องตรวจสอบและเฝ้าระวัง ก็คือ
พื้นสนามเด็กเล่นต้องเป็นพื้นเรียบและปูด้วยวัสดุอ่อน เช่น ทราย ยางสังเคราะห์ เป็นต้น จะช่วยรองรับแรงกระแทก หากเด็กพลัดตกจากเครื่องเล่น
จัดพื้นที่สนามเด็กเล่นให้เป็นส่วน ทำรั้วรอบสนามเด็กเล่น ป้องกันไม่ให้เด็กแอบเข้าไปเล่นในช่วงที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ดูแล
ต้องตรวจสอบว่าเครื่องเล่นยึดติดกับพื้นอย่างแน่นหนาหรือไม่ โดยเฉพาะเครื่องเล่นที่หมุนหรือเคลื่อนที่ได้ เช่น ลูกโลก ชิงช้า เพื่อไม่ให้เครื่องเล่นล้มทับเด็ก
ควรจัดหาเครื่องเล่นที่เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของเด็ก ซึ่งเครื่องเล่นไม่ควรสูงเกิน 120 เซนติเมตร
เครื่องเล่นกระดานลื่นต้องมีราวจับและแผงกันการพลัดตก
เครื่องเล่นที่มีลักษณะเป็นลูกกรง ควรมีช่องว่างมากกว่า 23 นิ้ว เพื่อป้องกันศีรษะเด็กเข้าไปติด
หมั่นตรวจสอบเครื่องเล่นให้อยู่ในสภาพที่มั่นคงแข็งแรงอยู่เสมอ หากพบเครื่องเล่นชำรุดควรรีบแจ้งช่างมาดำเนินการแก้ไขทันที
โต๊ะ-เก้าอี้
เป็นอุปกรณ์สำคัญและใกล้ตัวเด็กนักเรียนมากที่สุด ดังนั้น โรงเรียนต้องตรวจสอบโต๊ะเก้าอี้ทุกตัวให้อยู่ในสภาพมั่นคง แข็งแรง นั่งแล้วไม่โยกเยก และที่สำคัญคือต้องไม่มีตะปูแหลมคมยื่นออกมา เพราะถ้าเด็กกระโดดเล่นอาจพลัดตกลงมาโดนตะปูทิ่ม ได้รับบาดเจ็บได้
สระน้ำหรือบ่อน้ำ
หากโรงเรียนใดมีสระน้ำหรือบ่อน้ำ ควรทำรั้วกั้นรอบบ่อน้ำ และติดตั้งป้ายเตือนอั
นตรายจากการเล่นบริเวณริมน้ำไว้ด้วย เพื่อป้องกันเด็กลงไปเล่นน้ำ หรือพลัดตกน้ำเสียชีวิต
อาคารเรียน
บางโรงเรียนมีอาคารเรียนขนาดใหญ่ และมีความสูงหลายชั้น หากเด็กเผลอพลัดตกลงมาก็เป็นอันตรายถึงชีวิต จึงต้องป้องกันความเสี่ยงไว้ตั้งแต่เนิ่น ๆ คือ
หากอาคารเรียนมีความสูงมากกว่า 2 ชั้น ควรจัดให้มีลูกกรงเหล็กปิดระเบียง ประตู หน้าต่าง เพื่อป้องกันเด็กปีนป่ายเล่นและพลัดตกลงมา
ติดตั้งป้ายในจุดเสี่ยงอันตราย เช่น บริเวณไหนมีพื้นลื่น บันไดชัน สระน้ำลึก ฯลฯ
จัดให้มีครูดูแลความปลอดภัยของเด็กในโรงเรียน พร้อมประสานเจ้าหน้าที่อำนวยการจราจรบริเวณหน้าโรงเรียน เพื่อสร้างความปลอดภัยในการเดินทางแก่เด็ก
ตู้น้ำดื่ม หรือแท็งก์น้ำ
ได้ยินข่าวอยู่บ่อย ๆ ว่ามีเด็กนักเรียนมาดื่มน้ำที่ตู้น้ำเย็นแล้วถูกไฟช็อตเสียชีวิต หากไม่อยากให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้ซ้ำรอยอีก สิ่งที่โรงเรียนต้องทำก็คือ
ติดตั้งสายดิน เพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว
หมั่นตรวจสอบตู้น้ำดื่มให้อยู่ในสภาพปลอดภัย
สอนให้เด็กใช้ตู้น้ำดื่มอย่างถูกวิธี โดยแนะนำให้เด็กใช้แก้วรองน้ำจากก๊อกตู้น้ำดื่ม แต่ห้ามใช้ปากดูดน้ำจากก๊อกตู้น้ำดื่มอย่างเด็ดขาด เพราะหากมีกระแสไฟฟ้ารั่วจะทำให้ถูกไฟฟ้าดูดได้
สนามกีฬา
สถานที่วิ่งเล่น และเล่นกีฬาของเด็ก ๆ หากมีหลุมมีบ่อ เด็ก ๆ อาจสะดุดหกล้มจนบาดเจ็บได้ ดังนั้น ต้องคอยหมั่นตรวจสอบสภาพสนามอยู่เสมอ ไม่ให้มีเศษวัสดุของมีคมตกอยู่ในพื้นที่ พร้อมกับดูแลรักษาพื้นสนามไม่ให้หญ้าขึ้นรก เพราะหญ้ารกอาจเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ
อาคารที่กำลังก่อสร้าง
หากสถานศึกษาไหนกำลังมีการก่อสร้างอาคารภายในบริเวณ ควรจัดทำรั้วกั้นหรือใช้ผ้าคลุมบริเวณที่กำลังก่อสร้างไว้ด้วย พร้อมกับติดตั้งป้าย และประกาศเตือนไม่ให้เด็กเข้าไปเล่นในบริเวณดังกล่าว เพราะเด็กอาจได้รับอันตรายจากวัสดุก่อสร้าง เช่น กระจก กระเบื้อง ตะปู เป็นต้น
บันได
เด็กหลายคนชอบวิ่งเล่นขึ้น-ลงบันได ดังนั้น โรงเรียนต้องสอนเด็กไม่ให้วิ่งเล่นบริเวณบันได เพราะอาจเกิดอันตรายได้ นอกจากนี้ ยังต้องซ่อมแซมบันไดให้อยู่ในสภาพแข็งแรง โดยเฉพาะบันไดที่เป็นไม้ เพราะบันไดไม้อาจถูกปลวกกัดกินจนผุพัง ถ้าเด็กไปยืนพิง หรือกระโดดเล่นบนบันได อาจตกบันไดได้รับบาดเจ็บ
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าก็เป็นอันตรายใกล้ตัวที่หลายคนหลงลืมไป โดยเฉพาะปลั๊กไฟที่มีการติดตั้งอยู่ทั่วโรงเรียน ดังนั้น ต้องป้องกันไม่ให้เด็กได้รับอันตรายจากไฟดูด ดังเช่น
ติดตั้งสายดินหรือเครื่องตัดกระแสไฟฟ้าอัตโนมัติ เพื่อป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร
ติดตั้งปลั๊กไฟให้อยู่ในระดับที่พ้นจากมือเด็ก แต่หากปลั๊กไฟอยู่ในระดับที่เด็กเอื้อมมือถึง ควรใช้ที่ครอบปลั๊กไฟ เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กใช้นิ้วแหย่ปลั๊กไฟเล่น ซึ่งอาจทำให้ถูกไฟดูดเสียชีวิตได้
หมั่นตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าให้อยู่ในสภาพใช้งานอย่างปลอดภัย เพื่อป้องกันไฟฟ้าดูด ไฟฟ้าช็อต
สระน้ำหรือบ่อน้ำ
หากโรงเรียนใดมีสระน้ำหรือบ่อน้ำ ควรทำรั้วกั้นรอบบ่อน้ำ และติดตั้งป้ายเตือนอันตรายจากการเล่นบริเวณริมน้ำไว้ด้วย เพื่อป้องกันเด็กลงไปเล่นน้ำ หรือพลัดตกน้ำเสียชีวิต
ประตูโรงเรียน
ส่วนใหญ่แล้วประตูทางเข้าโรงเรียนจะมีขนาดใหญ่และหนัก นี่จึงเป็นจุดอันตรายที่เด็ก ๆ ทุกคนต้องเดินผ่าน ดังนั้นควรตรวจสอบตามนี้