-
-
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
-
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
-
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
-
ภาพเกี่ยวกับSafety
-
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
-
หัวหน้างาน
-
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์
-
ความปลอดภัยในวัด
-
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
-
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
-
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
-
หญิงตั้งครรภ์
-
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
ดับเพลิง
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
-
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
-
-
5ส
-
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
-
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก
-
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
-
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
-
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
-
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
-
5ส และ Visual Control
-
โปรเตอร์ 5 ส
-
การตรวจและประเมินผล
-
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
-
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
-
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
-
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
-
5ส เพื่อตัวเอง
-
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
-
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
-
ถังขยะ
-
ทีมคณะกรรมการ 5ส
-
ทำ 5 ส.ให้ประสบความสำเร็จ
-
1 วันกับ 5ส
-
Big Cleaning Day
-
5ส ที่มองไม่เห็น
-
คู่มือ 5ส
-
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
-
สีที่ใช้ในโรงงาน
-
Thailand 5S Award 2022
-
-
5ส โรงพยาบาล
-
5ส และความปลอดภัยในการทำงาน
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
การประเมินความเสี่ยง
-
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
-
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
-
การพูด
-
ทำไม ต้อง BBS
-
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
-
SOT : Safety Observation Tour
-
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
-
Safety with Krisana
-
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
-
ทฤษฎี ABC
-
ประสบการณ์ในการทำ BBS
-
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
-
ปิรามิดความปลอดภัย
-
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
-
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
-
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
-
-
SOT : Safety observation Tour
-
หยุด เรียก รอ
-
HORENSO
-
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
-
Safety Talk ก่อนทำงาน
-
Safety Talk
-
Safety Talk Show
-
การประเมินความเสี่ยง
-
โรคจากการทำงาน
-
การยศาสตร์
-
การสอบสวนอุบัติเหตุ
-
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
-
ภาวะผู้นํา (Leadership)
-
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
-
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
-
การเตรียมตัวออกรถ
-
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
-
ยืดเส้นยืดสาย... สำหรับผู้ขับขี่และผู้นั่งในรถยนต์
-
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับขี่รถยนต์
-
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
-
ปรับกระจกมองข้าง ลดอุบัติเหตุ
-
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
-
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
-
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
-
-
Kaizen&Ssfety
-
................................
-
การยศาสตร์เพื่อความปลอดภัย
-
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
-
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
-
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
-
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
-
6 ขั้นตอนที่จะต้องทำเมื่อเกิดเหตุสารเคมีหกล้น
-
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
-
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
-
ภาชนะบรรจุสารเคมีอันตราย ต้องติดฉลากเป็นภาษาไทย มีรายละเอียดอย่างน้อย 6 รายการ
-
SDS และ MSDS เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
-
การกำจัดสารเคมีหกรั่วไหล
-
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
-
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
-
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
การควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีในสถานที่ทำงานตามหลักการพื้นฐาน 3 ข้อ
-
PPE
-
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
-
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
-
-
ความปลอดภัยสารไวไฟ
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
-
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
-
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
-
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
-
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
-
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
-
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
-
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
-
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
-
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
-
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
ถังดับเพลิง
-
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
-
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
-
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
-
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
-
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
-
ความปลอดภัยรถบรรทุกขนส่ง
-
ความปลอดภัยยานพาหนะ
-
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
-
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
-
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
-
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
-
ความปลอดภัยรถตู้
-
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
-
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
-
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
-
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
-
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
-
เรื่องยางรถยนต์
-
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
-
-
ความปลอดภัยรถยก
-
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
-
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
-
อันตรายจากนั่งร้าน
-
คู่มือ
-
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
-
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
-
บันไดทำงานบนที่สูง
-
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
-
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
-
wi การทำงานนั่งร้าน
-
Check list ทำงานบนที่สูง
-
Check list งานก่อสร้าง
-
-
ความปลอดภัยทำงานบนที่สูง
-
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
-
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
-
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
-
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
-
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
-
WI งานที่อับอากาศ
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
-
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
-
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
-
-
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
-
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
-
ความปลอดภัยด้านเครน
-
ความปลอดภัยงานเชื่อม
-
ความปลอดภัยในโรงเรียน
-
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
-
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
-
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
-
การบรรยายด้านความปลอดภัย
-
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
-
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
-
อันตรายจากที่บ้าน
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
-
-
Lock Out Tag Out
-
บทความ Safety
-
ความปลอดภัยในการทำงาน
-
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
................................
-
อุบัติเหตุจากการทำงาน
-
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
-
อุบัติเหตุในการทำงาน
-
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุการระเบิด
-
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
-
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
-
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
-
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
-
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
-
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
-
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
-
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
-
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
-
3E และมาตรกรป้องกัน
-
-
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
-
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
-
Clip Safety & Accident
-
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
-
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
-
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
-
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
-
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
-
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
-
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
-
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอบรมพนักงานใหม่
-
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
-
คลิปLean Behavior Based Safety
-
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
-
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
-
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
-
-
................................
-
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
-
Safety Week
-
Safety Plan
-
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
-
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
-
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
-
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
-
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
-
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
-
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
-
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
-
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
-
-
คู่มือความปลอดภัย
-
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
-
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
-
คู่มือ รปภ
-
ทางหนีไฟ
-
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
-
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
-
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
-
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
-
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
คู่มือความปลอดภัย 2554
-
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
-
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
-
-
สิ่งแวดล้อม
-
PPE
-
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
-
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
-
Safety กับหน่วยงานราชาการ
-
คปอ
-
ผู้รับเหมา
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
-
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
-
รายงาน จปว
-
งาน จป
-
จป. คืออะไร
-
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
-
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
-
อบรมความปลอดภัย
-
หัวหน้างานและลูกน้อง
-
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
-
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
-
สิ่งแวดล้อม
-
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
สุขภาพร่างกาย
-
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
-
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
-
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
-
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
-
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
-
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
-
โครงการโรงงานสีขาว
-
บทความกำลังใจน้อง จป
-
The Mind Map กฏหมาย จป
-
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
-
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
-
แบบสปร.5
-
-
เพลงความปลอดภัย
-
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
-
การสอนงาน
-
ตลกขำขัน คลายเคลีย
-
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
-
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
-
วิธีสู่ความสำเร็จ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
อุบัติเหตุในสำนักงาน
5 อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นกับพนักงานออฟฟิศ
พนักงานออฟฟิศที่ใช้ชีวิตวันๆอยู่แต่ในตึกจะมีออกข้างนอกบ้างก็แค่ตอนเช้ามาทำงาน พักกลางวันและเลิกงาน ซึ่งดูแล้วไม่น่าจะทำให้เสี่ยงต่อ การเกิดอุบัติเหตุ ได้แต่อย่างใด แต่ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อว่า 5 อุบัติเหตุที่เราจะพูดถึงต่อไปนี้คือสิ่งที่คนทำงานทุกคนมีโอกาสประสบพบเจอได้ในขณะทำงานอยู่ในออฟฟิศ ซึ่งอุบัติเหตุเหล่านั้นจะมีอะไรบ้างและร้ายแรงขนาดไหนในบทความนี้มีคำตอบทั้งหมดไว้ให้อ่านกันแล้ว ไปติดตามกันเลย
การพลัดตกและหกล้ม
อุบัติเหตุอันดับต้นๆที่พนักงานออฟฟิศทุกคนอาจจะพบเจอมาอย่างแน่นอน โดยการพลัดตกและหกล้มนี้จะสามารถจำแนกออกได้เป็น 3 กรณี ประกอบด้วย
- การลื่นหรือหกล้ม คืออุบัติเหตุที่มักจะเกิดกับผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย โดยลักษณะที่เกิดขึ้นมีทั้งหกลมบนพื้นที่ลื่นหรือพื้นที่ปูพรม, สะดุดสิ่งของที่วางหรือห้อยสายไว้เกะกะ เช่น สายไฟฟา สายโทรศัพท์ เป็นต้น
- เก้าอี้ล้ม มักจะเกิดจากผู้ปฏิบัติงานที่มีการนั่งเก้าอี้ของสำนักงานแล้วเอนไปมาหรือดันเก้าอี้เร็วๆหรืออาจจะเกิดจากการนั่งเก้าอี้ไม่สมดุลทำให้มีโอกาสตกเก้าอี้สูงมาก
- การตกจากที่สูง ที่สูงในที่นี้ไม่ได้หมายถึงการกระโดดตึกหรือตกตึกแต่อย่างใด แต่หมายถึงการขึ้นไปยืนบนเก้าอี้หรือโต๊ะเพื่อหยิบสิ่งของหรือเปลี่ยนอุปกรณ์สำนักงานซึ่งทำให้เรามีโอกาสตกจากที่สูงได้
เดินเตะหรือสะดุดสิ่งของ
ในสำนักงานหรือบริษัทที่มีอุปกรณ์อยู่มากมายไม่ว่าจะเป็น โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องใช้สำนักงาน สายไฟต่างๆ จึงทำให้พนักงานออฟฟิศทุกคนมีโอกาสประสบเหตุการสะดุดสิ่งของได้ง่ายมาก ซึ่งหากเป็นการสะดุดสิ่งของเล็กน้อยก็คงไม่เป็นไรมากทายาสักพักก็จะหาย แต่ถ้าสะดุดสิ่งของแล้วเกิดถึงขั้นแข้งขาหักจนต้องเข้าโรงพยาบาลแบบนี้ก็คงไม่ดีสักเท่าไร
ถูกเกี่ยวหรือหนีบ
มีโอกาสที่อาจเกิดขึ้นได้มากไม่แพ้กันเพราะการถูกเกี่ยวและหนีบนี้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกสำนักงานที่มี ประตู กระจก หน้าต่าง หรือสิ่งของต่างๆที่สามารถทำให้เราโดนเกี่ยวหรือหนีบได้ ทั้งนี้อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุไม่ว่าจะเป็นเพราะอุปกรณ์ในสำนักงานหรือเพราะการแต่งกายของตัวพนักงานเอง
สิ่งของตกใส่ร่างกาย
อีก 1 อุบัติเหตุที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้สูงมากในออฟฟิศ ยิ่งถ้าออฟฟิศนั้นมีการเก็บสิ่งของต่างๆไว้ในที่สูงมากแล้วล่ะก็ยิ่งเพิ่มโอกาสเสี่ยงในการเกิดสิ่งของตกใส่ได้ง่ายขึ้นไปอีกทางหนึ่ง เพราะฉะนั้นแล้วพนักงานในบริษัทต้องคอยสังเกตุและดูสิ่งที่อยู่เหนือศรีษะว่าจะมีอะไรที่คาดว่ามีโอกาสหล่นลงมาใส่เราหรือเพื่อนร่วมงานของเราได้บ้าง ซึ่งถ้าเห็นว่าของสิ่งนั้นอาจตกลงมาได้ให้ทำการเคลื่อนย้ายของออกจากบริเวณด้านบนและไปวางไว้ที่อื่นแทน
การยกของและเคลื่อนย้ายวัสดุ
จากข้อที่แล้วที่กลัวว่าจะมีสิ่งของตกใส่ตัวเราจึงมีการย้ายวัสดุเหล่านั้น ซึ่งการเคลื่อนย้ายวัสดุถ้าเป็นสิ่งของที่มีน้ำหนักไม่มากนักก็คงไม่มีปัญหาอะไรแต่ถ้าเป็นสิ่งของที่หนักมาแล้วล่ะก็อาจจะทำให้เราได้รับ บาดเจ็บบริเวณหลัง จากการเคลื่อนย้ายวัสดุสำนักงานเหล่านั้นก็ได้
เพราะฉะนั้นแล้วการเคลื่อนย้ายวัสดุสำนักงานอะไรก็แล้วแต่เราต้องใช้ความระมัดระวังในการเคลื่อนย้ายเพื่อไม่ให้ตนเองและเพื่อนร่วมงานต้องได้รับบาดเจ็บจากการเคลื่อนย้ายสิ่งของในสำนักงาน
นอกจาก 5 อุบัติเหตุที่มีโอกาสเกิดขึ้นกับพนักงานทุกคนแล้วนั้นยังมีอันตรายจากเครื่องใช้สำนักงานต่างๆ เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร และ เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เหล่าพนักงานออฟฟิศควรที่จะระวังไว้เพื่อไม่ให้ตนเองต้องได้รับผลกระทบจากการใช้วัสดุอุปกรณ์ในสำนักงาน
อันตรายที่เกิดจากเครื่องถ่ายเอกสาร
เครื่องถ่ายเอกสารเป็น 1 ในอุปกรณ์สำนักงานที่ทุกสำนักงานต้องมีติดไว้อย่างน้อย 1 ตัว ซึ่งเครื่องถ่ายเอกสารนั้นก็มีสารหลายอย่างที่อาจส่งผลเสียและเป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ใช้ในระยะยาว เช่น
- สารคาร์ซิโนเจน ในน้ำหมึกซึ่งเป็นสารที่ทำให้ก่อเกิดเป็นโรคมะเร็งได้
- โลหะที่ใช้เคลือบลูกกลิ้ง มีผลต่อผิวหนังอาจทำให้เกิดการระคายเคืองนอกจากนั้นยังมีสารที่ทำให้ก่อเกิดมะเร็งได้อีกด้วย
- รังสีอัลต้าไวโอเลต เป็นแหล่งเกิดความร้อนที่มีอันตรายต่อผิวหนังและสายตา หากสัมผัสเป็นเวลานานอาจทำให้เกิดเป็นมะเร็งผิวหนังได้
- โอโซน จะเกิดขึ้นขณะเครื่องทำงานโดยเป็นการผสมผสานระหว่างออกซิเจนกับรังสีอัลต้าไวโอเลตเมื่อผู้ใช้หายใจเข้าไปจะทำให้เกิดอาการปวดหัวและมีปัญหาในระบบทางเดินหายใจ
- น้ำยาอาบกระดาษที่ใช้ในการเคลือบเอกสาร ทำให้มีการระคายเคืองของผิวหนังและอาจจะทำให้เป็นโรคผิวหนังอักเสบได้
วิธีป้องกันอันตรายจากเครื่องถ่ายเอกสาร
- ควรตั้งเครื่องถ่ายเอกสารในห้องที่อากาศถ่ายเทได้สะดวกเพื่อทำให้สารที่ออกมาเจือจางลง
- ถ้าได้กลิ่นฉุนหรือไหม้ให้หยุดใช้งานและติดต่อช่างให้มาเช็คเครื่องทันที
- การบำรุงรักษาเครื่องคือสิ่งสำคัญที่ช่วยลดปริมาณการปล่อยสารเคมีจากตัวเครื่อง
- ควรปิดแผ่นปิดถ่ายเอกสารทุกครั้งและไม่ควรมองแสงจากตัวเครื่องถ่ายโดยตรง
- ขณะเปลี่ยนถ่ายสารเคมีควรใส่อุปกรณ์ป้องกันจากสารเคมี เช่น ถุงมือยาง หน้ากากอนามัย
อันตรายที่เกิดจากเครื่องคอมพิวเตอร์
ถึงแม้อันตรายที่เกิดจากคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนั้นจะลดปัญหาลงไปมากเพราะเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างรวดเร็วแต่ทั้งนั้นก็ยังคงพบปัญหาที่ทำให้คอมพิวเตอร์ยังมีอันตรายต่อตัวผู้ใช้งานอยู่ นั่นก็คือ การใช้สายตา ในการเพ่งมองจอภาพจนเกิดอาการตาล้า จึงแนะนำว่าให้ควรพักสายตาโดยการมองไกลและกรอกตาไปมาเพื่อบริหารและผ่อนคลายกล้ามเนื้อดวงตาจากการทำงาน
อีก 1 ปัญหาที่พบในผู้ใช้คอมพิวเตอร์ คือ การนั่งทำงานเป็นเวลานาน โดยไม่ได้มีการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายจนส่งผลให้เกิดความปวดเมื่อยกล้ามเนื้อตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและมี ความเครียด ซึ่งทำให้ผู้ปฏิบัติงานมี อาการหงุดหงิด ขาดสมาธิ หากมีอาการดังกล่าวให้สังเกตสภาพแวดล้อมและท่านั่งทำงานของตนเองเพราะมีผลกระทบต่อการไหลเวียนของเลือดทำให้เกิดการเมื่อยล้าร่างกาย
มาถึงตรงนี้คงทำให้มนุษย์ออฟฟิศหลายคนตระหนักถึงอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้แม้ไม่ได้เดินออกไปข้างนอกก็ตามทีซึ่งถ้าเป็นอุบัติเหตุเล็กๆทั่วไปก็ยังพอไหว แต่ถ้าอุบัติเหตุนั้นเป็นอุบัติเหตุใหญ่ขึ้นมาถึงขั้นที่ต้องเข้าโรงพยาบาลก็คงไม่ดีต่อตนเองเป็นแน่ เพราะจะเสียทั้งเวลา เสียทั้งสุขภาพและเงินทอง แม้ว่าในออฟฟิศจะมีประกันกลุ่มไว้คอยรองรับความเสี่ยงของเราก็ตามที แต่เราอยากจะแนะนำให้คุณศึกษาเรื่อง กรมธรรมม์ประกันชีวิต ไว้เพื่อประโยชน์ของตัวคุณเองอีกทางหนึ่ง
นอกจากนี้ ประกันสุขภาพ คืออีกสิ่งหนึ่งที่พนักงานออฟฟิศทุกคนควรมีเพราะอย่างที่เห็นคือการทำงานในออฟฟิศบางทีก็ส่งผลเสียต่อสุขภาพของเรามากกว่าที่คิดซึ่งหากเกิดเจ็บป่วยหรือไม่สบายไปก็คงจะเป็นเรื่องดีถ้าเราได้รับการรักษาและดูแลอย่างดีที่สุดจากโรงพยาบาลโดยไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่าย