-
-
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
-
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
-
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
-
ภาพเกี่ยวกับSafety
-
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
-
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์
-
ความปลอดภัยในวัด
-
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
-
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
-
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
-
หญิงตั้งครรภ์
-
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
ดับเพลิง
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
-
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
-
-
5ส
-
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
-
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก
-
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
-
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
-
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
-
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
-
5ส และ Visual Control
-
โปรเตอร์ 5 ส
-
การตรวจและประเมินผล
-
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
-
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
-
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
-
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
-
5ส เพื่อตัวเอง
-
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
-
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
-
ถังขยะ
-
ทีมคณะกรรมการ 5ส
-
ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการทำ 5ส ให้ประสบความสำเร็จ
-
1 วันกับ 5ส
-
Big Cleaning Day
-
5ส ที่มองไม่เห็น
-
คู่มือ 5ส
-
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
-
สีที่ใช้ในโรงงาน
-
Thailand 5S Award 2022
-
-
5ส โรงพยาบาล
-
5ส เพื่อความปลอดภัย
-
Safety Mind การสร้างจิตสำนึกความปลอดภัย
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
-
สาระสำคัญของการประเมินความเสี่ยงอันตรายของสวัสดิการจังหวัดชลบุรี
-
ผู้ชำนาญการฯกับสรุปสาระการประเมินความเสี่ยง
-
การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
-
การวิเคราะห์เพื่อควบคุมความสูญเสีย
-
การป้องกันอุบัติเหตุ 3 E
-
วิธีปลูกฝังความปลอดภัยให้พนักงาน
-
7 เทคนิควิธี การชี้บ่งอันตรายใช้สำหรับการประเมินความเสี่ยง
-
-
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
-
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
-
การพูด
-
ทำไม ต้อง BBS
-
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
-
SOT : Safety Observation Tour
-
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
-
Safety with Krisana
-
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
-
ทฤษฎี ABC
-
ประสบการณ์ในการทำ BBS
-
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
-
ปิรามิดความปลอดภัย
-
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
-
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
-
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
-
-
SOT : Safety observation Tour
-
หยุด เรียก รอ
-
HORENSO
-
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
-
Safety Talk ก่อนทำงาน
-
Safety Talk
-
Safety Talk Show
-
โรคจากการทำงาน
-
การยศาสตร์
-
การสอบสวนอุบัติเหตุ
-
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
-
ภาวะผู้นํา (Leadership)
-
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
-
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
-
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
-
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
-
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
-
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
-
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
-
แนะนำวิธีรับมือเหตุฉุกเฉินบนรถบัสเบื้องต้นครับ
-
มาตรการป้องกันและระงับเหตุไฟไหม้รถบัสรับส่งนักเรียน
-
มารยาทของพนักงานขับรถบรรทุก
-
อุบัติเหตุบนถนน ภัยจากการเดินทาง แนะนำผู้ขับขี่ปลอดภัย
-
-
Kaizen&Ssfety
-
แผ่นดินไหว
-
................................
-
การยศาสตร์เพื่อความปลอดภัย
-
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
-
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
-
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
-
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
-
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
-
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
-
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
-
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
-
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
-
PPE
-
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
-
เกร็ดความรู้จาก สสปท
-
กฏหมายเคมี
-
การรายงานสารเคมีอันตราย
-
-
ความปลอดภัยสารไวไฟ
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
-
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
-
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
-
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
-
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
-
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
-
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
-
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
-
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
-
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
-
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
ถังดับเพลิง
-
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
-
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
-
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
-
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
-
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
-
ความปลอดภัยรถบรรทุกขนส่ง
-
ความปลอดภัยยานพาหนะ
-
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
-
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
-
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
-
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
-
ความปลอดภัยรถตู้
-
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
-
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
-
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
-
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
-
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
-
เรื่องยางรถยนต์
-
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
-
-
ความปลอดภัยรถยก
-
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
-
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
-
อันตรายจากนั่งร้าน
-
คู่มือ
-
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
-
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
-
บันไดทำงานบนที่สูง
-
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
-
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
-
wi การทำงานนั่งร้าน
-
Check list ทำงานบนที่สูง
-
Check list งานก่อสร้าง
-
-
ความปลอดภัยทำงานบนที่สูง
-
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
-
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
-
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
-
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
-
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
-
WI งานที่อับอากาศ
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
-
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
-
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
-
-
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
-
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
-
ความปลอดภัยด้านเครน
-
ความปลอดภัยงานเชื่อม
-
ความปลอดภัยในโรงเรียน
-
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
-
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
-
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
-
การบรรยายด้านความปลอดภัย
-
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
-
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
-
อันตรายจากที่บ้าน
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
-
-
ความปลอดภัยด้านรังสี
-
Lock Out Tag Out
-
บทความ Safety
-
ความปลอดภัยในการทำงาน
-
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ.
-
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
................................
-
อุบัติเหตุจากการทำงาน
-
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
-
อุบัติเหตุในการทำงาน
-
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุการระเบิด
-
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
-
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
-
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
-
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
-
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
-
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
-
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
-
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
-
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
-
3E และมาตรกรป้องกัน
-
-
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
-
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
-
Clip Safety & Accident
-
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
-
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
-
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
-
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
-
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
-
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
-
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
-
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอบรมพนักงานใหม่
-
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
-
คลิปLean Behavior Based Safety
-
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
-
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
-
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
-
-
................................
-
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
-
บอร์ดความปลอดภัย
-
Safety Week
-
Safety Plan
-
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
-
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
-
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
-
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
-
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
-
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
-
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
-
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
-
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
-
-
คู่มือความปลอดภัย
-
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
-
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
-
คู่มือ รปภ
-
ทางหนีไฟ
-
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
-
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
-
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
-
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
-
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
คู่มือความปลอดภัย 2554
-
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
-
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
-
แจกไฟล์หนังสือด้านความปลอดภัย
-
-
สิ่งแวดล้อม
-
PPE
-
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
-
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
-
Safety กับหน่วยงานราชาการ
-
คปอ
-
ผู้รับเหมา
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
-
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
-
รายงาน จปว
-
งาน จป
-
จป. คืออะไร
-
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
-
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
-
อบรมความปลอดภัย
-
หัวหน้างานและลูกน้อง
-
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
-
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
-
สิ่งแวดล้อม
-
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
สุขภาพร่างกาย
-
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
-
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
-
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
-
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
-
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
-
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
-
โครงการโรงงานสีขาว
-
บทความกำลังใจน้อง จป
-
The Mind Map กฏหมาย จป
-
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
-
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
-
แบบสปร.5
-
-
เพลงความปลอดภัย
-
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
-
การสอนงาน
-
ตลกขำขัน คลายเคลีย
-
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
-
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
-
วิธีสู่ความสำเร็จ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
8 เทคนิคการพรีเซนต์หน้าห้องดึงคนฟัง
8 เทคนิคการพรีเซนต์หน้าห้องดึงคนฟัง
TAGS : การพรีเซนต์หน้าห้อง
8 เทคนิคการพรีเซนต์หน้าห้องดึงคนฟัง
1. ผู้ฟังเป็นใคร รู้ยัง ?
หากเราพูดในห้อง คนฟังก็คือเพื่อนๆ ของเรา แต่ถ้ามีโอกาสไปพูดที่อื่น การวิเคราะห์คนฟังเป็นเรื่องจำเป็นมากๆ เลยนะ ถ้าเรารู้ว่าผู้ฟังเป็นใคร เราจะเลือกวิธีมาสื่อสารได้อย่างถูกต้อง ยกตัวอย่างเช่น ถ้าออกมาพูดปากเปล่าเฉยๆ ผู้ฟังมีแค่เพื่อน อาจจะเน้นความสนุกสนานได้ แต่พอพรีเซนต์งาน ต้องเรียกคะแนนจากอาจารย์ จะเฮฮาบ้าบออย่างเดียวไม่ได้ค่ะ ต้องมีเทคนิคสะกดจิตให้อาจารย์หันมาสนใจในสิ่งที่เรากำลังพูด
อริสโตเติล นักปรัชญาชาวกรีก เคยบอกไว้ว่า "เมื่อคิด ให้คิดอย่างนักปราชญ์ เมื่อพูด ให้พูดอย่างสามัญ" หรือแปลได้ว่า พูดสิ่งที่คนทั่วไปอยากฟัง แล้วเรื่องจะน่าสนใจเอง
2. เริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครึ่ง
ขอหยิบเอาวาทะระดับโลกอีกสักคนมาฝากนะคะ เดล คาร์เนกี้ นักพูดชื่อดังระดับโลกเคยบอกไว้ว่า "ประโยคแรกของเธอต้องตรึงความสนใจของผู้ฟังให้อยู่ ไม่ใช่ประโยคที่สอง และไม่ใช่ประโยคที่สาม แต่ต้องเป็นประโยคแรกเท่านั้น
ประโยคแรกที่น้องๆ จะเรียกคนฟังให้สนใจได้ ก็มีอยู่หลายวิธีนะคะ เช่น ใช้ประโยคที่ตื่นเต้น, เริ่มต้นด้วยการถามคำถาม เพื่อให้คนฟังได้คิดตาม, เริ่มต้นด้วยการเล่นเกมเล็กๆ น้อยๆ เพื่อให้คนฟังสงสัยว่าเราจะทำอะไรต่อไป, สร้างบรรยากาศด้วยภาษาที่สวยงาม จะมาเป็นกลอนหรือถ้อยคำสวยๆ ก็ได้ และสุดท้ายสวมบทบาทพระเอกนางเอกประหนึ่งเล่นละครไปเลย (กำลังคิดอยู่ว่า พี่เปรมสุดา ฝนฟ้าอากาศ ช่อง 7 ก็ได้อยู่นะ^^)
3. ขยันเล่าเรื่องและยกตัวอย่าง
การเล่าเรื่องและยกตัวอย่าง เป็นอีกหนึ่งเสน่ห์ที่ทำให้การพูดของเราน่าสนใจค่ะ ดีกว่าการพูดไปเรื่อยๆ คนจะฟังก็ช่าง ไม่ฟังก็ช่าง เพราะพอเริ่มต้นได้น่าเบื่อ ตอนกลางยังน่าเบื่ออีก ไม่มีใครสนใจเราแล้วค่ะ นอกจากนี้ยังมีทริคเล็กๆ ไว้ใช้ตอนเล่าเรื่องให้น่าสนใจ
3.1 เล่าจากประสบการณ์ตรงของตัวเอง
3.2 ลงรายละเอียด้วยการใส่เวลา ตัวละคร สถานที่ เรื่องที่เกิด และบทสรุป
3.3 เสนอความคิดเห็นที่คนฟังหยิบไปใช้ได้จริง
3.4 กุญแจแห่งความสำเร็จอยู่ที่น้ำเสียงต้องสื่ออารมณ์
4. ตำแหน่งยืนมีผลนะเออ
หลายคนเวลาไปพูดหน้าชั้น จะมี Power point ไปเป็นตัวช่วยในการนำเสนอ บางคนพาวเวอร์พ้อยเปรียบเสมือนสคริปท์อ่านพรีเซนต์เลยทีเดียว ตำแหน่งที่น้องๆ ยืนในการพูดมีผลต่อการฟังของคนฟังนะคะ ซึ่งข้อห้ามมีดังนี้
4.1 ไม่ควรยืนตรงหน้าผู้ฟัง หากสไลด์กับตัวคนอยู่ห่างกันมากๆ คนฟังจะไม่รู้ว่าต้องมองคนพูดหรือมองสไลด์ดี
4.2 ไม่ควรอ่านตามสไลด์หรือยืนขวางสไลด์ พูดง่ายๆ ว่าการยืนขวางสไลด์มันเกะกะนั่นเอง ยิ่งบางห้องต้องยิงจากเครื่องฉายมา หากยืนขวางจะยิงไปที่ตัวคนพูดแทน ที่สำคัญเราไม่ควรยืนอ่านตามสไลด์ค่ะ จำไว้ว่าเนื้อหาในสไลด์นั้นมีไว้ให้คนฟังดู ไม่ใช่ให้คนพูดอ่าน ถ้าอ่านตามสไลด์เป๊ะๆ ไม่ต้องมาพูดก็ได้นะคะ
4.3 พูดไปจิ้มคอมพิวเตอร์ไป ในกรณีที่ต้องพรีเซนต์คนเดียว ต้องทำคนเดียวทุกอย่าง ต้องแบ่งจังหวะให้ดีค่ะ อย่ามัวแต่ก้มพูดเพราะกดสไลด์เลย เพราะถ้าตัวคนพูดไม่อยู่นิ่งๆ ความสนใจของคนฟังก็จะตามคนพูดไปด้วย กลายเป็นว่าไม่ได้ฟัง แล้วก็ไม่ได้ดูด้วย ฉะนั้นอย่าสนใจสไลด์มากเกินไป ใช้รีโมทหรือให้คนอื่นมาช่วยแทน ตัวเองจะได้มีสมาธิอยู่กับสิ่งที่จะพูดค่ะ
5. ใช้ท่ามือหรือน้ำเสียงดึงความสนใจ
เวลารายงานวิชาการ หากอยู่ๆ พูดไปว่า "ตรงนี้สำคัญนะ ออกสอบแน่ๆ" รับรองว่าเพื่อนๆ ในห้องหูผึ่ง เตรียมจดแน่นอน ดังนั้นการใช้น้ำเสียงหรือใช้ท่าทางมือประกอบการพูดไปด้วย จะทำให้น่าสนใจและคนฟังจดจำได้แม่นยำขึ้นด้วย แต่ทั้งนี้ก็อย่าใช้จนเกินพอดี ไม่งั้นจะกลายเป็นดูน่ารำคาญแทนค่ะ
6. อย่าหลงตัวเอง
การพูดทุกประเภท ผู้ฟังมักจะอยากได้สาระ สิ่งที่เป็นประโยชน์จากตัวนักพูด แต่ถ้านักพูดมัวแต่พูดถึงเรื่องของตัวเองไม่จบไม่สิ้น ยิ่งคุยโว้โอ้อวดด้วยแล้ว จะยิ่งทำให้คนฟังเบื่อและรู้สึกว่าสิ่งที่พูดนั้นไม่มีประโยชน์และไม่น่าสนใจ ยกเว้นการพูดในแง่ของประสบการณ์ความล้มเหลว ที่นำมาเป็นข้อคิดได้ เรื่องเหล่านี้จะดึงดูดความสนใจได้มากกว่าค่ะ ดังนั้นการพูดที่ดี พูดถึงเรื่องตัวเองได้ แต่ต้องไม่ใช่การพูดในเชิงหลงตัวเอง ชมตัวเอง เพราะจะกลายเป็นการดูถูกผู้ฟังด้วย
7. สังเกตผู้ฟังตลอดเวลา ใครทำอะไรบ้าง
การสังเกตผู้ฟัง เป็นเรื่องสำคัญสำหรับการพูดค่ะ คนพูดเก่งๆ จะมีวิธีปรับวิธีการพูดไปตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ดังนั้นน้องๆ เมื่อก้าวมาอยู่หน้าห้อง จุดที่สามารถมองเห็นเพื่อนทั้งห้องได้ ต้องหัดรู้จักสังเกตอาการเพื่อนตอนเราพูดค่ะว่าทำอะไรกันบ้าง บางคนอาจจะมองว่าดีแล้วที่เพื่อนไม่ฟัง แต่ในอนาคตมันจะเป็นผลเสียต่อตัวเราเองนะ
หากพูดๆ อยู่ แล้วเพื่อนเริ่มคุยกัน นั่งเล่นมือถือ นั่งหลับ ต้องรีบเปลี่ยนวิธีการพูดค่ะ เช่น จะอธิบายให้เร็วขึ้นไป จะยกตัวอย่างเพิ่มขึ้นมั้ย หรือ จะมีช่วงหยุดเว้นจังหวะให้ห้องเกิดความเงียบ หากมีเวลามากพอ อาจให้เพื่อนตอบปัญหาหรือหาเกมให้เล่นก็ได้ เพื่อดึงความสนใจกลับมาค่ะ
8. หลัก 3S
ปิดท้าย การพูดให้มีเสน่ห์ ต้องยึดหลัก 3S ตามนี้ค่ะ
8.1 Simple เรียบง่าย ใช้ภาษาง่ายๆ อธิบายเนื้อหาอย่างชัดเจนและเชี่ยวชาญ
8.2 Speed จังหวะ พูดให้มีจังหวะ ใช้น้ำเสียงให้มีชีวิตชีวา ไม่ใช่มาอ่านให้คนฟัง
8.3 Self-confident เชื่อมั่นในตัวเอง ก่อนจะทำให้คนอื่นประทับใจ ต้องทำให้ตัวเองประทับใจให้ได้ก่อน
ขอบคุณข้อมูล Together on Campus by True