-
-
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
-
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
-
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
-
ภาพเกี่ยวกับSafety
-
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
-
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์
-
ความปลอดภัยในวัด
-
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
-
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
-
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
-
หญิงตั้งครรภ์
-
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
ดับเพลิง
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
-
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
-
-
5ส
-
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
-
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก
-
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
-
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
-
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
-
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
-
5ส และ Visual Control
-
โปรเตอร์ 5 ส
-
การตรวจและประเมินผล
-
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
-
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
-
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
-
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
-
5ส เพื่อตัวเอง
-
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
-
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
-
ถังขยะ
-
ทีมคณะกรรมการ 5ส
-
ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการทำ 5ส ให้ประสบความสำเร็จ
-
1 วันกับ 5ส
-
Big Cleaning Day
-
5ส ที่มองไม่เห็น
-
คู่มือ 5ส
-
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
-
สีที่ใช้ในโรงงาน
-
Thailand 5S Award 2022
-
-
5ส โรงพยาบาล
-
5ส เพื่อความปลอดภัย
-
Safety Mind การสร้างจิตสำนึกความปลอดภัย
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
-
สาระสำคัญของการประเมินความเสี่ยงอันตรายของสวัสดิการจังหวัดชลบุรี
-
ผู้ชำนาญการฯกับสรุปสาระการประเมินความเสี่ยง
-
การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
-
การวิเคราะห์เพื่อควบคุมความสูญเสีย
-
การป้องกันอุบัติเหตุ 3 E
-
วิธีปลูกฝังความปลอดภัยให้พนักงาน
-
7 เทคนิควิธี การชี้บ่งอันตรายใช้สำหรับการประเมินความเสี่ยง
-
-
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
-
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
-
การพูด
-
ทำไม ต้อง BBS
-
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
-
SOT : Safety Observation Tour
-
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
-
Safety with Krisana
-
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
-
ทฤษฎี ABC
-
ประสบการณ์ในการทำ BBS
-
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
-
ปิรามิดความปลอดภัย
-
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
-
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
-
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
-
-
SOT : Safety observation Tour
-
หยุด เรียก รอ
-
HORENSO
-
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
-
Safety Talk ก่อนทำงาน
-
Safety Talk
-
Safety Talk Show
-
โรคจากการทำงาน
-
การยศาสตร์
-
การสอบสวนอุบัติเหตุ
-
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
-
ภาวะผู้นํา (Leadership)
-
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
-
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
-
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
-
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
-
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
-
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
-
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
-
แนะนำวิธีรับมือเหตุฉุกเฉินบนรถบัสเบื้องต้นครับ
-
มาตรการป้องกันและระงับเหตุไฟไหม้รถบัสรับส่งนักเรียน
-
มารยาทของพนักงานขับรถบรรทุก
-
อุบัติเหตุบนถนน ภัยจากการเดินทาง แนะนำผู้ขับขี่ปลอดภัย
-
-
Kaizen&Ssfety
-
แผ่นดินไหว
-
................................
-
การยศาสตร์เพื่อความปลอดภัย
-
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
-
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
-
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
-
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
-
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
-
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
-
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
-
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
-
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
-
PPE
-
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
-
เกร็ดความรู้จาก สสปท
-
กฏหมายเคมี
-
การรายงานสารเคมีอันตราย
-
-
ความปลอดภัยสารไวไฟ
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
-
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
-
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
-
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
-
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
-
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
-
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
-
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
-
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
-
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
-
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
ถังดับเพลิง
-
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
-
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
-
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
-
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
-
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
-
ความปลอดภัยรถบรรทุกขนส่ง
-
ความปลอดภัยยานพาหนะ
-
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
-
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
-
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
-
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
-
ความปลอดภัยรถตู้
-
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
-
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
-
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
-
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
-
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
-
เรื่องยางรถยนต์
-
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
-
-
ความปลอดภัยรถยก
-
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
-
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
-
อันตรายจากนั่งร้าน
-
คู่มือ
-
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
-
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
-
บันไดทำงานบนที่สูง
-
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
-
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
-
wi การทำงานนั่งร้าน
-
Check list ทำงานบนที่สูง
-
Check list งานก่อสร้าง
-
-
ความปลอดภัยทำงานบนที่สูง
-
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
-
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
-
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
-
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
-
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
-
WI งานที่อับอากาศ
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
-
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
-
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
-
-
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
-
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
-
ความปลอดภัยด้านเครน
-
ความปลอดภัยงานเชื่อม
-
ความปลอดภัยในโรงเรียน
-
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
-
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
-
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
-
การบรรยายด้านความปลอดภัย
-
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
-
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
-
อันตรายจากที่บ้าน
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
-
-
ความปลอดภัยด้านรังสี
-
Lock Out Tag Out
-
บทความ Safety
-
ความปลอดภัยในการทำงาน
-
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ.
-
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
................................
-
อุบัติเหตุจากการทำงาน
-
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
-
อุบัติเหตุในการทำงาน
-
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุการระเบิด
-
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
-
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
-
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
-
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
-
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
-
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
-
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
-
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
-
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
-
3E และมาตรกรป้องกัน
-
-
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
-
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
-
Clip Safety & Accident
-
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
-
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
-
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
-
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
-
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
-
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
-
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
-
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอบรมพนักงานใหม่
-
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
-
คลิปLean Behavior Based Safety
-
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
-
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
-
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
-
-
................................
-
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
-
บอร์ดความปลอดภัย
-
Safety Week
-
Safety Plan
-
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
-
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
-
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
-
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
-
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
-
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
-
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
-
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
-
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
-
-
คู่มือความปลอดภัย
-
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
-
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
-
คู่มือ รปภ
-
ทางหนีไฟ
-
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
-
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
-
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
-
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
-
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
คู่มือความปลอดภัย 2554
-
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
-
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
-
แจกไฟล์หนังสือด้านความปลอดภัย
-
-
สิ่งแวดล้อม
-
PPE
-
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
-
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
-
Safety กับหน่วยงานราชาการ
-
คปอ
-
ผู้รับเหมา
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
-
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
-
รายงาน จปว
-
งาน จป
-
จป. คืออะไร
-
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
-
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
-
อบรมความปลอดภัย
-
หัวหน้างานและลูกน้อง
-
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
-
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
-
สิ่งแวดล้อม
-
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
สุขภาพร่างกาย
-
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
-
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
-
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
-
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
-
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
-
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
-
โครงการโรงงานสีขาว
-
บทความกำลังใจน้อง จป
-
The Mind Map กฏหมาย จป
-
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
-
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
-
แบบสปร.5
-
-
เพลงความปลอดภัย
-
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
-
การสอนงาน
-
ตลกขำขัน คลายเคลีย
-
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
-
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
-
วิธีสู่ความสำเร็จ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
สั่ง อย่างไร… ให้ได้ทั้งใจ และงาน
โดย:
จป น้อย สระบุรี
[IP: 61.91.85.xxx]
เมื่อ: 2015-08-20 14:52:07
ารสั่งงานเป็นภาระหน้าที่ ของนักบริหารทุกระดับ ที่จะต้องเกี่ยวข้องกับการสั่งบุคคล ภายในองค์การของตน ให้ทำงาน และความที่มนุษย์ เราไม่สามารถจะล่วงรู้ทุกสิ่งทุกอย่างได้หมด ปัญหาการทำงาน จึงเกิดขึ้นทุกวัน คนที่เป็นหัวหน้า จึงต้องคอย วิเคราะห์ข้อมูล ของปัญหาเฉพาะหน้าต่างๆ ที่เกิดขึ้น แล้ววินิจฉัยสั่งงาน ไปยังผู้อยู่ใต้ บังคับบัญชาของตน ให้ทราบถึงแนวทาง สำหรับแก้ไขข้อบกพร่องในการปฏิบัติงาน และทำให้งานนั้นๆ มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น
ในการสั่งงาน และกระตุ้นให้คนงานด้วยความเต็มใจนั้น ผู้นำที่ดีหรือหัวหน้าที่ดี จะต้องมีความรู้เรื่องศิลปะของการเป็นผู้นำ รู้หลักมนุษยสัมพันธ์ รู้เรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคลในองค์กร และประการสุดท้ายคือ ต้องรู้หลักจิตวิทยา ในการสั่งงานด้วย จึงจะสามารถทำงานให้บรรลุเป้าหมายได้
การสั่งงานนั้น มีความหมายรวมทั้งการขอร้องให้ทำ การออกคำสั่ง และการให้คำแนะนำด้วย
การสั่งงานยังเป็นการแจ้งให้ผู้ปฏิบัติงานทราบว่า เขาจะต้องทำอะไร ทำอย่างไร ทำกับใคร ทำที่ไหน และทำเมื่อใด เป็นเบื้องต้น
ลักษณะของการสั่งงานที่ดีมีหลักอยู่ว่า ถ้าผู้รับคำสั่งเข้าใจคำสั่งถูกต้อง และปฏิบัติตามด้วยความเต็มใจ งานที่สั่งไปนั้น ก็จะสำเร็จลุล่วงด้วยดี ดังนั้นลักษณะของคำสั่งที่ดีจึงต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
สั่ง อย่างไร… ให้ได้ทั้งใจ และงาน
คำสั่งต้องกระจ่าง คนรับคำสั่งจะต้องปรุโปร่งเลยว่า ภารกิจที่เขาจะต้องไปทำต่อคืออะไร โดยคำสั่งนั้นต้องชี้ถึง “งาน” ที่เป็นรูปธรรม และสั่งด้วยถ้อยคำที่เข้าใจง่าย ลำดับความชัดเจน เป็นข้อๆ ได้เลยยิ่งดี และควรจะมีทั้งคำสั่ง ที่ถ่ายทอดด้วยวาจา และลายลักษณ์อักษรเพื่อกันลืม หรือเพื่อไล่เรียงปฏิบัติจนกระทั่งครบถ้วน
สิ่งที่สั่งนั้นจะต้องเป็นไปได้ถ้างานที่สั่งเป็นงานที่สุดวิสัย ที่ผู้ใต้บังคับบัญชาจะทำได้ ย่อมไม่ได้รับความร่วมมือ ผู้สั่งงานจะต้องรู้ถึงความสามารถ ของผู้รับคำสั่ง ทรัพยากรต่างๆ ที่จะต้องใช้ และระยะเวลา ที่กำหนดว่าพอเพียง หรือไม่ มีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด ต้องไม่สั่งให้ทำสิ่งที่เกินจริงหรือเกินสถานการณ์
ถ้อยคำ น้ำเสียง และท่าทีที่ใช้ประกอบคำสั่ง ต้องชวนให้ผู้รับคำสั่งเต็มใจที่จะปฏิบัติตาม คำสั่งควรมีความชัดเจนว่า ให้ทำทันดี ให้ทำตามนี้ หรือเพียงมอบหมายภารกิจ และให้ไปคิดวิธีการกันเอาเอง แต่ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไร การออกคำสั่งต้องไม่แฝงการวางอำนาจของผู้บังคับบัญชา อาจใช้วิธีออกคำสั่งในรูปแบบของการจูงใจ (Motivation) ซึ่งเป็นวิธีการกระตุ้น หรือผลักดันให้ผู้ใต้บังคับบัญชา มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ที่ได้รับมอบหมาย โดยจะต้องเลือกจังหวะเวลา ในการสั่งงานที่เหมาะสม พร้อมทั้งอธิบายลักษณะงานให้ชัดเจน ใช้คำพูดที่สุภาพ เลือกท่าทีแบบขอแรง หรือกำหนดให้ทำให้เหมาะกับสถานการณ์ และอารมณ์ของคนในขณะนั้น หากภารกิจไม่ถึงกับเร่งด่วน เป็น-ตาย ควรเปิดโอกาสให้ผู้รับคำสั่งได้ร่วมตัดสินใจ และร่วมออกความเห็น เกี่ยวกับงานที่ทำด้วย ก็จะยิ่งดี
การอธิบายเหตุผลประกอบการสั่งงาน มีส่วนช่วยให้ผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติตามด้วยความเต็มใจ ตามหลักจิตวิทยาถือว่า การที่คนเราต้องทำอะไรตามคำสั่งคนอื่น โดยไม่ทราบว่าทำไปเพื่ออะไร หวังผลอะไรจากการทำงานนั้น จะขาดความรู้สึกกระตือรือร้นในการทำงาน ฉะนั้นจึงเป็นการสมควรที่ผู้สั่งงาน จะได้อธิบายถึงเหตุผล ที่ต้องทำงานนั้น ให้ผู้รับคำสั่งทราบ โดยไม่แสดงอารมณ์ฉุนเฉียว บุคลิกหรือลักษณะที่ดี ของคนที่มีหน้าที่ สั่งงานคนอื่น ก็คือ ต้องรู้จักใช้ทั้ง “พระเดช” และ “พระคุณ”
ในยามปกติ คนเป็นหัวหน้าคนต้องมีท่าทีที่เป็นมิตร เห็นอกเห็นใจผู้อื่น ยิ้มแย้มแจ่มใส น่ารัก พูดจามีหลักการ เหตุผล ไม่แข็งกร้าว ไม่ใช้น้ำเสียงประเภทที่เรียกกันว่ามะนาวไม่มีน้ำ ที่สำคัญคือ ต้องพิสูจน์ให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ทั้งหมดประจักษ์ และยอมรับว่า คุณมีความสามารถที่เพียงพอ ต่อการรับผิดชอบงาน ในตำแหน่งหน้าที่นั้นจริงๆ พร้อมกันนี้คุณก็มีท่าที
หรือนโยบายที่ชัดเจนว่า คุณประสงค์ที่จะทำงานเป็นหมู่คณะ มากกว่าฉายเดี่ยว
สั่ง อย่างไร… ให้ได้ทั้งใจ และงาน คุณจึงเห็นความสำคัญ ของผู้ร่วมงานทุกคน และให้ความสำคัญ กับพวกเขาทุกคนด้วย
แต่ในยามที่คุณจะต้องเบ็ดเสร็จ เด็ดขาดขึ้นมาละก็ คุณก็จะยึดมั่น ในความถูกต้องเหมาะสมเป็นสำคัญ จะไม่มีวัน ลำเอียง หรือเอนเอียง ต่อสัมพันธภาพส่วนตัวเด็ดขาด คุณพร้อมจะกำหนด หรือออกคำสั่ง ให้ใครคนใดคนหนึ่ง ปฏิบัติหน้าที่ในทันที มีคำแนะนำเบื้องต้นให้ และกำหนดเวลา ที่จะประเมินผล หรือทบทวนปัญหาอีกครั้ง อย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม ไม่ปล่อยไปแบบ เลยตามเลย และให้ความยุติธรรมต่อคนอื่นๆ ในเวลาเดียวกันนั้นด้วย
ผู้นำเช่นคุณจึงต้องฝึกฝนการพูดจาและท่าทีที่ “ได้ใจ” ลูกน้อง คือเป็นกันเองเมื่อมีชีวิตปกติ เป็นหัวหน้า เมื่อต้องเป็น หัวหน้า มีน้ำเสียงที่ฉะฉาน ชัดเจน เด็ดขาด แต่เอื้ออาทร ไม่ใช่แล้งน้ำใจ เป็นเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ทว่าบังเอิญถูกกำหนด บทบาทหน้าที่ให้ทำงานที่ต่างกันออกไป แต่ไม่ใช่เทวดา หรือเจ้าชีวิตแน่นอน!!
ขอขอบคุณข้อมูลแจาก first magazine
ในการสั่งงาน และกระตุ้นให้คนงานด้วยความเต็มใจนั้น ผู้นำที่ดีหรือหัวหน้าที่ดี จะต้องมีความรู้เรื่องศิลปะของการเป็นผู้นำ รู้หลักมนุษยสัมพันธ์ รู้เรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคลในองค์กร และประการสุดท้ายคือ ต้องรู้หลักจิตวิทยา ในการสั่งงานด้วย จึงจะสามารถทำงานให้บรรลุเป้าหมายได้
การสั่งงานนั้น มีความหมายรวมทั้งการขอร้องให้ทำ การออกคำสั่ง และการให้คำแนะนำด้วย
การสั่งงานยังเป็นการแจ้งให้ผู้ปฏิบัติงานทราบว่า เขาจะต้องทำอะไร ทำอย่างไร ทำกับใคร ทำที่ไหน และทำเมื่อใด เป็นเบื้องต้น
ลักษณะของการสั่งงานที่ดีมีหลักอยู่ว่า ถ้าผู้รับคำสั่งเข้าใจคำสั่งถูกต้อง และปฏิบัติตามด้วยความเต็มใจ งานที่สั่งไปนั้น ก็จะสำเร็จลุล่วงด้วยดี ดังนั้นลักษณะของคำสั่งที่ดีจึงต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
สั่ง อย่างไร… ให้ได้ทั้งใจ และงาน
คำสั่งต้องกระจ่าง คนรับคำสั่งจะต้องปรุโปร่งเลยว่า ภารกิจที่เขาจะต้องไปทำต่อคืออะไร โดยคำสั่งนั้นต้องชี้ถึง “งาน” ที่เป็นรูปธรรม และสั่งด้วยถ้อยคำที่เข้าใจง่าย ลำดับความชัดเจน เป็นข้อๆ ได้เลยยิ่งดี และควรจะมีทั้งคำสั่ง ที่ถ่ายทอดด้วยวาจา และลายลักษณ์อักษรเพื่อกันลืม หรือเพื่อไล่เรียงปฏิบัติจนกระทั่งครบถ้วน
สิ่งที่สั่งนั้นจะต้องเป็นไปได้ถ้างานที่สั่งเป็นงานที่สุดวิสัย ที่ผู้ใต้บังคับบัญชาจะทำได้ ย่อมไม่ได้รับความร่วมมือ ผู้สั่งงานจะต้องรู้ถึงความสามารถ ของผู้รับคำสั่ง ทรัพยากรต่างๆ ที่จะต้องใช้ และระยะเวลา ที่กำหนดว่าพอเพียง หรือไม่ มีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด ต้องไม่สั่งให้ทำสิ่งที่เกินจริงหรือเกินสถานการณ์
ถ้อยคำ น้ำเสียง และท่าทีที่ใช้ประกอบคำสั่ง ต้องชวนให้ผู้รับคำสั่งเต็มใจที่จะปฏิบัติตาม คำสั่งควรมีความชัดเจนว่า ให้ทำทันดี ให้ทำตามนี้ หรือเพียงมอบหมายภารกิจ และให้ไปคิดวิธีการกันเอาเอง แต่ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไร การออกคำสั่งต้องไม่แฝงการวางอำนาจของผู้บังคับบัญชา อาจใช้วิธีออกคำสั่งในรูปแบบของการจูงใจ (Motivation) ซึ่งเป็นวิธีการกระตุ้น หรือผลักดันให้ผู้ใต้บังคับบัญชา มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ที่ได้รับมอบหมาย โดยจะต้องเลือกจังหวะเวลา ในการสั่งงานที่เหมาะสม พร้อมทั้งอธิบายลักษณะงานให้ชัดเจน ใช้คำพูดที่สุภาพ เลือกท่าทีแบบขอแรง หรือกำหนดให้ทำให้เหมาะกับสถานการณ์ และอารมณ์ของคนในขณะนั้น หากภารกิจไม่ถึงกับเร่งด่วน เป็น-ตาย ควรเปิดโอกาสให้ผู้รับคำสั่งได้ร่วมตัดสินใจ และร่วมออกความเห็น เกี่ยวกับงานที่ทำด้วย ก็จะยิ่งดี
การอธิบายเหตุผลประกอบการสั่งงาน มีส่วนช่วยให้ผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติตามด้วยความเต็มใจ ตามหลักจิตวิทยาถือว่า การที่คนเราต้องทำอะไรตามคำสั่งคนอื่น โดยไม่ทราบว่าทำไปเพื่ออะไร หวังผลอะไรจากการทำงานนั้น จะขาดความรู้สึกกระตือรือร้นในการทำงาน ฉะนั้นจึงเป็นการสมควรที่ผู้สั่งงาน จะได้อธิบายถึงเหตุผล ที่ต้องทำงานนั้น ให้ผู้รับคำสั่งทราบ โดยไม่แสดงอารมณ์ฉุนเฉียว บุคลิกหรือลักษณะที่ดี ของคนที่มีหน้าที่ สั่งงานคนอื่น ก็คือ ต้องรู้จักใช้ทั้ง “พระเดช” และ “พระคุณ”
ในยามปกติ คนเป็นหัวหน้าคนต้องมีท่าทีที่เป็นมิตร เห็นอกเห็นใจผู้อื่น ยิ้มแย้มแจ่มใส น่ารัก พูดจามีหลักการ เหตุผล ไม่แข็งกร้าว ไม่ใช้น้ำเสียงประเภทที่เรียกกันว่ามะนาวไม่มีน้ำ ที่สำคัญคือ ต้องพิสูจน์ให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ทั้งหมดประจักษ์ และยอมรับว่า คุณมีความสามารถที่เพียงพอ ต่อการรับผิดชอบงาน ในตำแหน่งหน้าที่นั้นจริงๆ พร้อมกันนี้คุณก็มีท่าที
หรือนโยบายที่ชัดเจนว่า คุณประสงค์ที่จะทำงานเป็นหมู่คณะ มากกว่าฉายเดี่ยว
สั่ง อย่างไร… ให้ได้ทั้งใจ และงาน คุณจึงเห็นความสำคัญ ของผู้ร่วมงานทุกคน และให้ความสำคัญ กับพวกเขาทุกคนด้วย
แต่ในยามที่คุณจะต้องเบ็ดเสร็จ เด็ดขาดขึ้นมาละก็ คุณก็จะยึดมั่น ในความถูกต้องเหมาะสมเป็นสำคัญ จะไม่มีวัน ลำเอียง หรือเอนเอียง ต่อสัมพันธภาพส่วนตัวเด็ดขาด คุณพร้อมจะกำหนด หรือออกคำสั่ง ให้ใครคนใดคนหนึ่ง ปฏิบัติหน้าที่ในทันที มีคำแนะนำเบื้องต้นให้ และกำหนดเวลา ที่จะประเมินผล หรือทบทวนปัญหาอีกครั้ง อย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม ไม่ปล่อยไปแบบ เลยตามเลย และให้ความยุติธรรมต่อคนอื่นๆ ในเวลาเดียวกันนั้นด้วย
ผู้นำเช่นคุณจึงต้องฝึกฝนการพูดจาและท่าทีที่ “ได้ใจ” ลูกน้อง คือเป็นกันเองเมื่อมีชีวิตปกติ เป็นหัวหน้า เมื่อต้องเป็น หัวหน้า มีน้ำเสียงที่ฉะฉาน ชัดเจน เด็ดขาด แต่เอื้ออาทร ไม่ใช่แล้งน้ำใจ เป็นเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ทว่าบังเอิญถูกกำหนด บทบาทหน้าที่ให้ทำงานที่ต่างกันออกไป แต่ไม่ใช่เทวดา หรือเจ้าชีวิตแน่นอน!!
ขอขอบคุณข้อมูลแจาก first magazine
- ความคิดเห็น
- Facebook Comments