-
-
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
-
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
-
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
-
ภาพเกี่ยวกับSafety
-
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
-
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์
-
ความปลอดภัยในวัด
-
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
-
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
-
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
-
หญิงตั้งครรภ์
-
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
ดับเพลิง
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
-
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
-
-
5ส
-
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
-
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก
-
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
-
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
-
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
-
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
-
5ส และ Visual Control
-
โปรเตอร์ 5 ส
-
การตรวจและประเมินผล
-
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
-
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
-
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
-
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
-
5ส เพื่อตัวเอง
-
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
-
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
-
ถังขยะ
-
ทีมคณะกรรมการ 5ส
-
ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการทำ 5ส ให้ประสบความสำเร็จ
-
1 วันกับ 5ส
-
Big Cleaning Day
-
5ส ที่มองไม่เห็น
-
คู่มือ 5ส
-
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
-
สีที่ใช้ในโรงงาน
-
Thailand 5S Award 2022
-
-
5ส โรงพยาบาล
-
5ส เพื่อความปลอดภัย
-
Safety Mind การสร้างจิตสำนึกความปลอดภัย
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
-
สาระสำคัญของการประเมินความเสี่ยงอันตรายของสวัสดิการจังหวัดชลบุรี
-
ผู้ชำนาญการฯกับสรุปสาระการประเมินความเสี่ยง
-
การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
-
การวิเคราะห์เพื่อควบคุมความสูญเสีย
-
การป้องกันอุบัติเหตุ 3 E
-
วิธีปลูกฝังความปลอดภัยให้พนักงาน
-
7 เทคนิควิธี การชี้บ่งอันตรายใช้สำหรับการประเมินความเสี่ยง
-
-
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
-
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
-
การพูด
-
ทำไม ต้อง BBS
-
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
-
SOT : Safety Observation Tour
-
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
-
Safety with Krisana
-
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
-
ทฤษฎี ABC
-
ประสบการณ์ในการทำ BBS
-
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
-
ปิรามิดความปลอดภัย
-
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
-
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
-
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
-
-
SOT : Safety observation Tour
-
หยุด เรียก รอ
-
HORENSO
-
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
-
Safety Talk ก่อนทำงาน
-
Safety Talk
-
Safety Talk Show
-
โรคจากการทำงาน
-
การยศาสตร์
-
การสอบสวนอุบัติเหตุ
-
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
-
ภาวะผู้นํา (Leadership)
-
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
-
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
-
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
-
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
-
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
-
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
-
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
-
แนะนำวิธีรับมือเหตุฉุกเฉินบนรถบัสเบื้องต้นครับ
-
มาตรการป้องกันและระงับเหตุไฟไหม้รถบัสรับส่งนักเรียน
-
มารยาทของพนักงานขับรถบรรทุก
-
อุบัติเหตุบนถนน ภัยจากการเดินทาง แนะนำผู้ขับขี่ปลอดภัย
-
-
Kaizen&Ssfety
-
แผ่นดินไหว
-
................................
-
การยศาสตร์เพื่อความปลอดภัย
-
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
-
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
-
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
-
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
-
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
-
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
-
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
-
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
-
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
-
PPE
-
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
-
เกร็ดความรู้จาก สสปท
-
กฏหมายเคมี
-
การรายงานสารเคมีอันตราย
-
-
ความปลอดภัยสารไวไฟ
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
-
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
-
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
-
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
-
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
-
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
-
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
-
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
-
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
-
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
-
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
ถังดับเพลิง
-
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
-
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
-
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
-
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
-
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
-
ความปลอดภัยรถบรรทุกขนส่ง
-
ความปลอดภัยยานพาหนะ
-
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
-
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
-
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
-
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
-
ความปลอดภัยรถตู้
-
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
-
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
-
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
-
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
-
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
-
เรื่องยางรถยนต์
-
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
-
-
ความปลอดภัยรถยก
-
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
-
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
-
อันตรายจากนั่งร้าน
-
คู่มือ
-
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
-
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
-
บันไดทำงานบนที่สูง
-
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
-
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
-
wi การทำงานนั่งร้าน
-
Check list ทำงานบนที่สูง
-
Check list งานก่อสร้าง
-
-
ความปลอดภัยทำงานบนที่สูง
-
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
-
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
-
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
-
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
-
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
-
WI งานที่อับอากาศ
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
-
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
-
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
-
-
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
-
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
-
ความปลอดภัยด้านเครน
-
ความปลอดภัยงานเชื่อม
-
ความปลอดภัยในโรงเรียน
-
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
-
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
-
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
-
การบรรยายด้านความปลอดภัย
-
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
-
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
-
อันตรายจากที่บ้าน
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
-
-
ความปลอดภัยด้านรังสี
-
Lock Out Tag Out
-
บทความ Safety
-
ความปลอดภัยในการทำงาน
-
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ.
-
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
................................
-
อุบัติเหตุจากการทำงาน
-
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
-
อุบัติเหตุในการทำงาน
-
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุการระเบิด
-
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
-
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
-
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
-
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
-
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
-
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
-
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
-
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
-
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
-
3E และมาตรกรป้องกัน
-
-
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
-
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
-
Clip Safety & Accident
-
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
-
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
-
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
-
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
-
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
-
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
-
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
-
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอบรมพนักงานใหม่
-
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
-
คลิปLean Behavior Based Safety
-
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
-
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
-
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
-
-
................................
-
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
-
บอร์ดความปลอดภัย
-
Safety Week
-
Safety Plan
-
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
-
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
-
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
-
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
-
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
-
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
-
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
-
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
-
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
-
-
คู่มือความปลอดภัย
-
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
-
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
-
คู่มือ รปภ
-
ทางหนีไฟ
-
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
-
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
-
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
-
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
-
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
คู่มือความปลอดภัย 2554
-
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
-
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
-
แจกไฟล์หนังสือด้านความปลอดภัย
-
-
สิ่งแวดล้อม
-
PPE
-
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
-
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
-
Safety กับหน่วยงานราชาการ
-
คปอ
-
ผู้รับเหมา
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
-
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
-
รายงาน จปว
-
งาน จป
-
จป. คืออะไร
-
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
-
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
-
อบรมความปลอดภัย
-
หัวหน้างานและลูกน้อง
-
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
-
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
-
สิ่งแวดล้อม
-
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
สุขภาพร่างกาย
-
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
-
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
-
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
-
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
-
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
-
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
-
โครงการโรงงานสีขาว
-
บทความกำลังใจน้อง จป
-
The Mind Map กฏหมาย จป
-
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
-
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
-
แบบสปร.5
-
-
เพลงความปลอดภัย
-
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
-
การสอนงาน
-
ตลกขำขัน คลายเคลีย
-
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
-
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
-
วิธีสู่ความสำเร็จ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
อันตรายจากเสียงดัง 1
1. เสียงคืออะไร?
เสียงเป็นคลื่นเชิงกลที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ วัตถุสามารถอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ(อากาศ) ก็ได้ คลื่นเสียงทำให้อนุภาคของวัตถุเกิดการอัดตัวและขยายตัวแล้วจึงส่งผ่านพลังงานเข้ามาสู่หูของเรา หลังจากนั้นกลไกการทำงานของหูจะทำหน้าที่ขยายเสียงให้เราได้ยินและแปลความหมายด้วยระบบการทำงานของสมอง จะเห็นได้ว่าเสียงเริ่มต้นที่แหล่งกำเนิด ผ่านตัวกลางและเดินทางมาสู่หูของเรา เสียงนั้นมีประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตของเราอย่างมาก ทั้งด้านการสื่อสาร เตือนอันตราย และการรับรู้ทิศทางของเสียง แต่ถ้าเสียงนั้นดังเกินไปก็จะทำให้เกิดอันตรายต่อหูเราได้เช่นกัน
2. เมื่อไหร่จึงเรียกว่าเสียงดังเกินไป?
สภาพแวดล้อมในชีวิตประจำวันของเรามีความหลากหลาย และมีเสียงดังเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา เสียงดังที่เกิดขึ้นจะถูกวัดค่าออกมามีหน่วยเป็นเดซิเบล ตัวอย่างเช่น
- เสียงกระซิบมีระดับความดัง 30 เดซิเบล
- เสียงคำพูดสนทนาทั่วไป 60 เดซิเบล
- เสียงการจราจรปกติ 80 เดซิเบล
- เสียงการก่อสร้างถนน 100 เดซิเบล
- เสียงเครื่องบินขึ้นสูงถึง 140 เดซิเบล เป็นต้น
จากเสียงในสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นนี้เองทำให้แต่ละคนรับรู้ถึงระดับเสียงดังที่แตกต่างกัน บางครั้งรู้สึกว่าเสียงดังเกินไปในขณะที่อีกคนอาจรู้สึกว่าเสียงนั้นไม่ดังเท่าไหร่ บางคนอาศัยอยู่ในละแวกที่มีการก่อสร้างจึงคุ้นเคยกับเสียงดังรบกวนที่เกิดขึ้น แต่เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเสียงที่เราได้ยินอยู่ในตอนนี้ดังเกินไปหรือไม่
หมายเหตุ
องค์การอนามัยโลกให้คำแนะนำไว้ว่า เราไม่ควรฟัง เสียงที่ดังเกินกว่า 85 เดซิเบล ติดต่อกัน 8 ชั่วโมง และ ระดับเสียงที่ดัง 100 เดซิเบล ติดต่อกัน 15 นาที ซึ่งระดับเสียงดังกล่าวถือเป็นเสียงที่ทำให้เกิดอันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์ สำหรับประเทศไทย ตามประกาศกฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน ความสว่างและเสียง พ.ศ. 2549 กำหนดมาตรฐานระดับเสียงดังที่ยอมให้ลูกจ้างได้รับขณะทำงานในแต่ละวัน ดังตารางต่อไปนี้
จะเห็นได้ว่าเมื่อยิ่งเสียงดังมากขึ้นระยะเวลาในการรับฟังเสียงจะยิ่งลดลง เพราะถ้ารับฟังเสียงที่ดังมากในระยะเวลาที่เกินกำหนดอาจทำให้เกิดการสูญเสียการได้ยินขึ้นได้ ดังนั้นหากเราต้องอาศัยหรือทำงานในสถานที่ที่มีเสียงดังรบกวนมากเกินไปเป็นระยะเวลานานอาจส่งผลกระทบต่อการได้ยินได้
3. เสียงดังในโรงงานอุตสาหกรรม
ผู้ที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมจะปฏิบัติงานกับเครื่องจักรทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเครื่องจักรกลเหล่านี้มักจะส่งเสียงดังในขณะกำลังทำงาน ซึ่งดังมากดังน้อยขึ้นอยู่กับขนาดของเครื่องจักรและลักษณะการทำงาน ทั้งนี้จึงมีกฎหมายเรื่องการควบคุมเสียงภายในโรงงาน หากมีการตรวจพบว่าโรงงานไหนมีเสียงดังมากเกินมาตรฐาน จะถือว่าผิดกฎหมายมลพิษทางเสียงและความสั่นสะเทือนเนื่องจากเสียงดังกล่าวส่งผลต่อสุขภาพของพนักงาน
3.1 แหล่งกำเนิดเสียง
- เสียงดังจากเครื่องจักรขนาดใหญ่
- เสียงดังจากการเคลื่อนย้ายและการขนส่งสิ่งของ
- เสียงดังจากการปฏิบัติงานของพนักงานโดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ
จากสาเหตุข้างต้นทำให้มีการกำหนดระยะเวลาในการสัมผัสเสียงดังโดยคำนวณจากระดับความดังและชั่วโมง การสัมผัสเสียงดังหากมีระดับความดังมากก็จะอนุญาตให้ลดเวลาการทำงานที่ต้องสัมผัสเสียงดังให้น้อยลง
3.2 ผลกระทบจากเสียงดังจากโรงงานอุตสาหกรรม
- ส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตของพนักงาน
- เสียงเครื่องจักรที่ดังเกินไปจะขัดขวางการสื่อสาร ทำให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน ส่งผลให้เกิดการผิดพลาดในการประสานงาน
- เสียงที่ดังมากเกินไปจะทำลายประสาทหู และอาจทำให้หูหนวกหรือหูตึงได้
3.3 วิธีการแก้ไข
- หากพนักงานจำเป็นจะต้องทำงานสัมผัสเสียงดังอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ต้องมีมาตรการให้พนักงานสวมเอียปลั๊กหรือเอียมั๊ฟเพื่อลดเสียงที่เข้าสู่หูและเป็นการป้องกันเสียงทำลายประสาทหู
- ทำห้องเก็บเสียงในบริเวณที่มีเครื่องจักร เพื่อไม่ให้เสียงเครื่องจักรเล็ดลอดออกไปรบกวนพนักงานในแผนกอื่นๆ
- เปลี่ยนวัสดุอุปกรณ์บางตัวหรือใช้วัสดุที่ซับเสียงของเครื่องจักรเพื่อลดเสียงดังที่เกิดจากการทำงานของเครื่อง
- ใช้การสื่อสารแบบสัญลักษณ์หรือสัญญาณมือภายในห้องที่มีเสียงดังแทนการพูดคุย
4. หูฟัง…อันตรายที่ใกล้ตัว
ผู้คนจำนวนไม่น้อยที่ใช้หูฟังทั้งด้านการสื่อสารและด้านความบันเทิง ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีการใช้งานตามสถานที่ต่างๆมากมาย เช่น ในระหว่างเดินทางด้วยรถสาธารณะ รถไฟใต้ดิน รถไฟฟ้า เดินห้างสรรพสินค้า ออกกำลังกาย หรือแม้แต่การใช้งานในระหว่างทำงานหรือพักผ่อน แต่น้อยคนนักที่จะทราบถึงผลร้ายที่จะตามมาหากเราใช้งานผิดวิธี บทความนี้จะทำให้ท่านทราบว่าการใช้งานอย่างไรจึง จะสามารถป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายต่อหูได้
หูฟังที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีด้วยกันหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ หูฟังแบบใส่ในช่องหู (In Ear), แบบครอบหู (Headphone) หรือ แบบเอียร์บัด (Ear buds) ซึ่งหูฟังแต่ละแบบก็ถูกออกแบบให้รองรับการใช้งานในแต่ละด้านแตกต่างกัน
ปัจจุบันหูฟังที่คนนิยมใช้มากที่สุดก็คือแบบใส่ในช่องหู (In Ear) เนื่องจากพกพาสะดวก เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ได้ง่าย แต่หารู้ไม่ว่าหูฟังชนิดนี้ทำร้ายการได้ยินของผู้ใช้ได้อย่างถาวร เนื่องจากการใช้หูฟังประเภทดังกล่าวจะนำเสียงเข้าสู่หูโดยตรง เมื่อเวลาอยู่ในสถานที่ที่มีเสียงรบกวนผู้ใช้อาจเพิ่มเสียงดังขึ้นโดยไม่รู้ตัว วัตถุประสงค์ที่เพิ่มเสียงดังขึ้นก็เพียงเพื่อให้ได้ยินเสียงจากหูฟังดังฟังชัดเจน แต่หากเสียงรบกวนภายนอกอยู่ในระดับเสียงที่ดังมาก แน่นอนว่าผู้ใช้ก็จะเพิ่มเสียงในหูฟังให้ดังกว่าเสียงรบกวนภายนอก ซึ่งหากต้องการได้ยินเสียงที่ชัดเจนขึ้นจะต้องเพิ่มความดังมากกว่าเสียงรบกวน 10-15 เดซิเบล ลองสมมติว่าเสียงภายนอกมีความดังประมาณ 70-80 เดซิเบล นั่นความหมายว่า ผู้ใช้จะต้องเพิ่มไปถึง 90 เดซิเบล ซึ่งเป็นระดับที่องค์การอนามัยโลกระบุว่า เป็นอันตรายต่อระบการได้ยินแล้ว
ด้วยเหตุนี้เองการใช้เสียงดังมากใส่เข้าไปในหูเป็นเวลานานหลายชั่วโมงติดต่อกัน อาจทำให้เกิดการล้าของเซลล์ระบบประสาทการได้ยินขึ้น ซึ่งหากยังคงทำพฤติกรรมเช่นนี้อย่างต่อเนื่องเซลล์ระบบประสาทที่เคยล้าก็จะไม่ได้รับการฟื้นฟูให้กลับมาทำงานได้อย่างปกติ ซ้ำยังถูกกระตุ้นมากขึ้นเรื่อยๆ จนทำให้เซลล์ในระบบประสาทการได้ยินเกิดการเสื่อมหรือตายลงจนไม่สามารถใช้งานได้
5. การได้ยินจะเป็นอย่างไร เมื่อได้ยินเสียงดัง
เมื่อมีการสัมผัสเสียงดังเป็นระยะเวลานานจะส่งผลกระทบต่อระบบการได้ยิน โดยการสูญเสียการได้ยินที่เกิดขึ้นมักจะเกิดที่หูชั้นในเนื่องจากได้รับการกระตุ้นอย่างต่อเนื่องและไม่มีระยะเวลาให้พักฟื้น การสูญเสียการได้ยินจากการสัมผัสเสียงดังนั้นสามารถเกิดได้ 2 รูปแบบ ได้แก่
5.1 การสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราว
สามารถเกิดขึ้นได้เมื่อมีการสัมผัสเสียงดังเป็นระยะเวลาหนึ่ง โดยเมื่อออกจากบริเวณนั้นจะมีอาการหูอื้อ ฟังไม่ค่อยชัดเจน สาเหตุมาจากเซลล์ขนในหูชั้นในทำงานอย่างต่อเนื่องและเกิดอาการล้าทำให้ไม่สามารถทำงานอย่างปกติได้ เมื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสเสียงและได้พักผ่อนประมาณ 14-16 ชั่วโมง ก็จะสามารถกลับมาได้ยินเป็นปกติได้
5.2 การสูญเสียการได้ยินแบบถาวร
เกิดขึ้นเมื่อมีการสัมผัสเสียงดังเกินกว่าระยะเวลาที่กำหนดและมีการสัมผัสอย่างต่อเนื่องไม่มีระยะเวลาในการพักฟื้น ซึ่งจะทำให้การได้ยินสูญเสียไปอย่างถาวร ไม่สามารถรักษาให้กลับคืนสู่สภาพปกติได้
ต่อไปนี้เราคงต้องสังเกตเสียงในสภาพแวดล้อมรอบตัวมากขึ้นว่าเป็นเสียงดังจนเกินไปหรือไม่ เพื่อป้องกันอันตรายจากเสียงดังที่จะเกิดขึ้นกับระบบการได้ยินของเราในอนาคต
—–
Vector Designed by freepik
https://hearingaidsbestprice.com/loud-sound-n-dangerous/