-
-
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
-
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
-
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
-
ภาพเกี่ยวกับSafety
-
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
-
หัวหน้างาน
-
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์
-
ความปลอดภัยในวัด
-
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
-
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
-
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
-
หญิงตั้งครรภ์
-
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
ดับเพลิง
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
-
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
-
-
5ส
-
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
-
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก
-
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
-
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
-
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
-
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
-
5ส และ Visual Control
-
โปรเตอร์ 5 ส
-
การตรวจและประเมินผล
-
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
-
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
-
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
-
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
-
5ส เพื่อตัวเอง
-
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
-
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
-
ถังขยะ
-
ทีมคณะกรรมการ 5ส
-
ทำ 5 ส.ให้ประสบความสำเร็จ
-
1 วันกับ 5ส
-
Big Cleaning Day
-
5ส ที่มองไม่เห็น
-
คู่มือ 5ส
-
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
-
สีที่ใช้ในโรงงาน
-
Thailand 5S Award 2022
-
-
5ส โรงพยาบาล
-
5ส และความปลอดภัยในการทำงาน
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
การประเมินความเสี่ยง
-
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
-
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
-
การพูด
-
ทำไม ต้อง BBS
-
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
-
SOT : Safety Observation Tour
-
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
-
Safety with Krisana
-
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
-
ทฤษฎี ABC
-
ประสบการณ์ในการทำ BBS
-
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
-
ปิรามิดความปลอดภัย
-
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
-
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
-
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
-
-
SOT : Safety observation Tour
-
หยุด เรียก รอ
-
HORENSO
-
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
-
Safety Talk ก่อนทำงาน
-
Safety Talk
-
Safety Talk Show
-
การประเมินความเสี่ยง
-
โรคจากการทำงาน
-
การยศาสตร์
-
การสอบสวนอุบัติเหตุ
-
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
-
ภาวะผู้นํา (Leadership)
-
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
-
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
-
การเตรียมตัวออกรถ
-
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
-
ยืดเส้นยืดสาย... สำหรับผู้ขับขี่และผู้นั่งในรถยนต์
-
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับขี่รถยนต์
-
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
-
ปรับกระจกมองข้าง ลดอุบัติเหตุ
-
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
-
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
-
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
-
แนะนำวิธีรับมือเหตุฉุกเฉินบนรถบัสเบื้องต้นครับ
-
มาตรการป้องกันและระงับเหตุไฟไหม้รถบัสรับส่งนักเรียน
-
มารยาทของพนักงานขับรถบรรทุก
-
-
Kaizen&Ssfety
-
................................
-
การยศาสตร์เพื่อความปลอดภัย
-
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
-
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
-
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
-
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
-
6 ขั้นตอนที่จะต้องทำเมื่อเกิดเหตุสารเคมีหกล้น
-
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
-
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
-
ภาชนะบรรจุสารเคมีอันตราย ต้องติดฉลากเป็นภาษาไทย มีรายละเอียดอย่างน้อย 6 รายการ
-
SDS และ MSDS เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
-
การกำจัดสารเคมีหกรั่วไหล
-
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
-
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
-
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
การควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีในสถานที่ทำงานตามหลักการพื้นฐาน 3 ข้อ
-
PPE
-
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
-
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
-
-
ความปลอดภัยสารไวไฟ
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
-
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
-
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
-
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
-
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
-
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
-
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
-
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
-
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
-
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
-
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
ถังดับเพลิง
-
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
-
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
-
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
-
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
-
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
-
ความปลอดภัยรถบรรทุกขนส่ง
-
ความปลอดภัยยานพาหนะ
-
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
-
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
-
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
-
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
-
ความปลอดภัยรถตู้
-
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
-
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
-
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
-
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
-
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
-
เรื่องยางรถยนต์
-
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
-
-
ความปลอดภัยรถยก
-
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
-
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
-
อันตรายจากนั่งร้าน
-
คู่มือ
-
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
-
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
-
บันไดทำงานบนที่สูง
-
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
-
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
-
wi การทำงานนั่งร้าน
-
Check list ทำงานบนที่สูง
-
Check list งานก่อสร้าง
-
-
ความปลอดภัยทำงานบนที่สูง
-
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
-
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
-
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
-
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
-
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
-
WI งานที่อับอากาศ
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
-
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
-
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
-
-
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
-
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
-
ความปลอดภัยด้านเครน
-
ความปลอดภัยงานเชื่อม
-
ความปลอดภัยในโรงเรียน
-
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
-
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
-
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
-
การบรรยายด้านความปลอดภัย
-
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
-
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
-
อันตรายจากที่บ้าน
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
-
-
Lock Out Tag Out
-
บทความ Safety
-
ความปลอดภัยในการทำงาน
-
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
................................
-
อุบัติเหตุจากการทำงาน
-
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
-
อุบัติเหตุในการทำงาน
-
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุการระเบิด
-
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
-
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
-
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
-
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
-
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
-
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
-
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
-
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
-
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
-
3E และมาตรกรป้องกัน
-
-
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
-
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
-
Clip Safety & Accident
-
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
-
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
-
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
-
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
-
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
-
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
-
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
-
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอบรมพนักงานใหม่
-
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
-
คลิปLean Behavior Based Safety
-
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
-
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
-
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
-
-
................................
-
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
-
บอร์ดความปลอดภัย
-
Safety Week
-
Safety Plan
-
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
-
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
-
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
-
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
-
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
-
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
-
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
-
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
-
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
-
-
คู่มือความปลอดภัย
-
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
-
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
-
คู่มือ รปภ
-
ทางหนีไฟ
-
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
-
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
-
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
-
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
-
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
คู่มือความปลอดภัย 2554
-
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
-
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
-
-
สิ่งแวดล้อม
-
PPE
-
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
-
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
-
Safety กับหน่วยงานราชาการ
-
คปอ
-
ผู้รับเหมา
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
-
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
-
รายงาน จปว
-
งาน จป
-
จป. คืออะไร
-
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
-
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
-
อบรมความปลอดภัย
-
หัวหน้างานและลูกน้อง
-
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
-
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
-
สิ่งแวดล้อม
-
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
สุขภาพร่างกาย
-
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
-
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
-
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
-
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
-
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
-
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
-
โครงการโรงงานสีขาว
-
บทความกำลังใจน้อง จป
-
The Mind Map กฏหมาย จป
-
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
-
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
-
แบบสปร.5
-
-
เพลงความปลอดภัย
-
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
-
การสอนงาน
-
ตลกขำขัน คลายเคลีย
-
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
-
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
-
วิธีสู่ความสำเร็จ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
คู่มือมาตรฐานความปลอดภัยการใช้งานและการจัดเก็บท่อบรรจุก๊าซออกซิเจน
คู่มือมาตรฐานความปลอดภัยการใช้งานและการจัดเก็บท่อบรรจุก๊าซออกซิเจน
(Safety Standard Manual for Housekeeping & Working Pressure Vessel Oxygengas)
1.ท่อบรรจุก๊าซออกซิเจนที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม จะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก. 88 - 2517 และมีสีดำเท่านั้น หากตรวจพบว่า ท่อบรรจุก๊าซออกซิเจนที่ใช้งานไม่ใช่สีดำ จะต้องส่งคืนให้แผนก W/H CT. เพื่อทำการตรวจสอบและส่งคืนผู้ผลิตต่อไป
2.ท่อบรรจุก๊าซออกซิเจนที่ใช้ทางการแพทย์จะเป็นสีเขียวมรกตเพราะเป็นไปตามมาตรฐาน มอก. 87 - 2517 หากตรวจพบว่าท่อบรรุจุก๊าซ ออกซิเจนที่ใช้งานอยู่มีสีดังกล่าวปนมา จะต้องส่งคืนแผนก W/H CT. เพื่อที่แผนก W/H CT. จะได้ตรวจสอบและส่งคืนผู้ผลิตต่อไป
3.วาล์วและข้อต่อของท่อบรรจุก๊าซออกซิเจน จะต้องเป็นชนิดที่ใช้งานกับออกซิเจนเท่านั้น โดยต้องเป็นไปตามข้อกำหนดของ Compressed Gas Association (CGA - 540) เป็นอย่างน้อยหรือได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.)
4.ท่อบรรจุก๊าซออกซิเจนที่นำมาใช้งาน จะต้องได้รับการตรวจสอบตามมาตรฐาน มอก. 358 - 2531 เป็นประจำทุก ๆ 3 ปี โดยให้ สังเกตที่ส่วนคอท่อบรรจุก๊าซออกซิเจน จะต้องมีการตอกตัวเลขระบุเดือนปีที่ทดสอบครั้งสุดท้ายไว้ ระยะเวลาต้องไม่เกิน 3 ปี
5จัดเก็บท่อบรรจุก๊าซในบริเวณที่มีการระบายอากาศที่ดี และต้องห่างจากก๊าซไวไฟอย่างน้อย 20 ฟุต (6 เมตร) หรือทำการแยกพื้นที่ จัดเก็บ โดยกั้นด้วยกำแพงทนไฟสูงอย่างน้อย 5 ฟุต และทนไฟได้อย่างน้อย 30 นาที (เป็นข้อกำหนดทางกฎหมาย)
6ข้อห้ามโดยเด็ดขาด คือจัดเก็บไข, สารหล่อลื่น, น้ำมันไฮโดรลิค, น้ำมันเครื่อง, น้ำมันเบนซิน, น้ำมันดีเซล, น้ำมันก๊าด, ทินเนอร์ (สารเคมีที่กล่าวมาในเบื้องต้นคือตัวอย่างของสารละลายไฮโดรคาร์บอน) เป็นต้น ไว้ใกล้กับท่อบรรจุก๊าซออกซิเจนอย่างเด็ดขาด เพราะสารละลายไฮโดรคาร์บอนจะทำให้เกิดการลุกไหม้และเป็นต้นเหตุอย่างหนึ่งที่ทำให้ท่อบรรจุก๊าซลุกไหม้หรือการระเบิดในที่สุด
7สวมใส่ชุดทำงานหรือถุงมือที่สะอาดไม่ปนเปือนน้ำมันหรือสารไฮโดรคาร์บอน เมื่อทำการประกอบอุปกรณ์ที่ใช้กับออกซิเจน เช่น การติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันไฟย้อนกลับ (Flashback Arrestors), อุปกรณ์ควบคุมแรงดัน (Pressure Regulator) หรือการต่อสาย ออกซิเจนรวมไปถึงอุปกรณ์ที่ใช้งานกับก๊าซออกซิเจนทุกชนิด (น้ำมันจะถูกแรงดันก๊าซที่มีความร้อนสูงจะเกิดลุกไหม้หรือระเบิดได้)
8ก่อนที่จะต่อสายเดินก๊าซออกซิเจนเข้ากับท่อบรรจุก๊าซออกซิเจนเพื่อใช้งาน จะต้องแน่ใจว่าไม่มีก๊าซไหลย้อนกลับเข้าสู่ท่อบรรจุก๊าซ
9เมื่อนำท่อบรรจุก๊าซมาใช้งาน การเปิดวาล์วต้องเปิดอย่างช้า ๆ หากเปิดวาล์วไม่ออก ให้ทำการส่งคืนแผนก W/H CT. เพื่อให้แผนก W/H CT. ทำการตรวจสอบและส่งคืนให้กับบริษัทผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่าย เพื่อทำการแก้ไขโดยช่างผู้ชำนาญการต่อไป
10การถอดฝาครอบวาล์ว (Cap) ของท่อบรรจุก๊าซ ควรถอดเมื่อท่อบรรจุก๊าซตั้งอยู่อย่างปลอดภัยแล้วเท่านั้น เช่น ต้องมีสายรัดกันล้ม เพื่อให้เกิดความมั่นคงแข็งแรงปลอดภัยแล้วเท่านั้น และต้องมีชื่อก๊าซติดที่ไหล่ท่อและสัญลักษณ์ของก๊าซติดบอกไว้อย่างชัดเจน
11ในกรณีที่แรงดันก๊าซออกซิเจนเหลือน้อยไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ให้สำรวจบริเวณโดยรอบว่าไม่มีการทำงานที่ก่อให้เกิดประกายไฟ หรือไม่มีไอระเหยของสารละลายไฮโดรคาร์บอนอยู่ในบริเวณนี้ จากนั้นให้เปิดวาล์วเพื่อไล่ก๊าซออกซิเจนออกจากถังให้หมด แล้วจึง ปิดฝาครอบวาล์วท่อก๊าซ ทั้งนี้ให้รวมไปถึงกรณีที่เลิกใช้งานท่อบรรจุก๊าซออกซิเจนและได้ถอดอุปกรณ์ก๊าซออกจนหมดแล้วเช่นกัน 12ห้ามทำการซ่อมหรือดัดแปลงวาล์วหรืออุปกรณ์อำนวยความปลอดภัยของท่อบรรจุก๊าซ ถ้าหากพบว่าท่อบรรจุก๊าซชำรุด ให้แจ้งบริษัท ผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่ายโดยทันที และห้ามนำอุปกรณ์ที่ชำรุดทุกชนิดมาดัดแปลงเพื่อนำกลับไปใช้งานใหม่อย่างเด็ดขาด
13.ห้ามใช้ไข, สารหล่อลื่น, น้ำมันไฮโดรคาร์บอนทุกชนิด ทาที่เกลียวของข้อต่อวาล์วและอุปกรณ์ของท่อบรรจุก๊าซออกซิเจนอย่างเด็ดขาด หากจำเป็นต้องใช้สารหล่อลื่นทาที่เกลียวของวาล์วหรือข้อต่อวาล์ว ต้องใช้สารหล่อลื่นชนิดที่ใช้ได้กับออกซิเจนเท่านั้น ซึ่งจะมีคำว่า "Compatible For Oxygen" แสดงไว้บนภาชนะบรรจุน้ำยาดังกล่าวอย่างชัดเจน
14.ต้องจัดแยกท่อที่มีก๊าซกับท่อเปล่าออกจากกันและติดป้ายหรือมีเครื่องหมายแสดง เช่นคำว่า "ท่อเปล่า" เป็นต้น วันที่นำออกใช้วันที่ปรับปรุงแก้ไขครั้งที่ผู้อนุมัติผู้ทบทวนผู้จัดทำ คู่มือมาตรฐานความปลอดภัยการใช้งานและการจัดเก็บท่อบรรจุก๊าซออกซิเจนหน้าที่(Safety Standard Manual for Housekeeping & Working Pressure Vessel Oxygengas)หน้าที่ 3 จาก 4
15.จัดเก็บท่อบรรจุก๊าซออกซิเจน ให้ห่างจากแหล่งกำเนิดความร้อนหรือการเผาไหม้ ตลอดจนห้ามทำให้เกิดประกายไฟขึ้นอย่างเด็ดขาด และให้กำหนดเป็นสถานที่ห้ามสูบบุหรี่พร้อมทั้งติดป้ายสัญลักษณ์เตือนข้อความสีแดง "ห้ามสูบบุหรี่" ให้เห็นอย่างชัดเจน
16.การวางท่อบรรจุก๊าซ จะต้องวางในแนวตั้งหรือตั้งฉากกับพื้นดินเท่านั้น พร้อมทั้งให้โยงยึดกับโซ่รัดกันท่อล้ม และจะต้องไม่มีสิ่งของ วางทับไว้ด้านบนโดยเด็ดขาด
17.จัดเก็บท่อก๊าซห่างจากลิฟท์ บันได ประตูและทางเดิน และห้ามวางท่อไว้ในบริเวณที่มีสายไฟฟ้าพาดผ่านและเป็นสื่อนำกระแสไฟฟ้า
18.การดูแลรักษาท่อบรรจุก๊าซ จะต้องระมัดระวังไม่ให้ท่อสัมผัสกับอุณหภูมิสูงหรือต่ำจนเกินไป เช่น อย่าให้ถูกแสงแดดโดยตรง
19.ต้องจัดวางท่อบรรจุก๊าซไว้ในบริเวณที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก โล่ง และไม่ควรวางท่อก๊าซออกซิเจนไว้สารกัดกร่อนจากกรดหรือด่าง
20.บริเวณที่จัดเก็บจะต้องสะอาด โปร่ง และมองเห็นได้ชัดเจน และมีป้ายชื่อผู้รับผิดชอบโดยเฉพาะ มีป้ายเตือนอันตรายต่าง ๆ เช่น ท่อบรรจุก๊าซออกซิเจน, ท่อบรรจุก๊าซความดันสูง, ก๊าซอันตราย, ห้ามสูบบุหรี่, ห้ามทำให้เกิดประกายไฟ เป็นต้น
21.ต้องระวังไม่ให้มีเศษสิ่งสกปรก ฝุ่นละอองผ่านเข้าไปในวาล์วของท่อบรรจุก๊าซและต้องทำความสะอาดท่ออย่างสม่ำเสมอ และห้าม ห้ามทำการแหย่เศษผ้าเข้าไปทำความสะอาดภายในตัววาล์ว เพราะจะทำให้มีเศษสิ่งสกปรกตกค้างภายในได้
22.ในขณะเคลื่อนย้ายท่อบรรจุก๊าซออกซิเจน ห้ามนอนท่อก๊าซหรือใช้รถยกยกเคลื่อนย้ายในลักษณะนอนท่อก๊าซบนงารถกอย่างเด็ดขาด เพราะถ้าหากท่อก๊าซเคลื่อนตัวตกลงกระแทกพื้นอาจจะทำให้ท่อเกิดรอยร้าว และเป็นเหตุนำมาซึ่งการระเบิดของท่อบรรจุก๊าซในที่สุด
23.การเคลื่อนย้ายท่อก๊าซให้เคลื่อนย้ายในแนวตั้งฉากกันพื้นและต้องมีโครงสร้างยึดท่อก๊าซเพื่อป้องกันการล้มก่อนการเคลื่อนย้ายทุกครั้ง
24.ห้ามใช้ลมหรือก๊าซออกซิเจนเป่าใส่ลำตัวตนเองหรือเพื่อนอย่างเด็ดขาด โดยเฉพาะในกรณีที่เพื่อนทำการเชื่อมหรือตัดแก๊สอยู่หรือ อยู่ในระหว่างการปฏิบัติงานที่ก่อให้เกิดประกายไฟทุกชนิด เพราะจะเป็นสาเหตุทำให้เกิดเพลิงไหม้กับตนเองและเพื่อนได้
25.ผู้ปฏิบัติงานกับท่อบรรจุก๊าซออกซิเจน ต้องเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรตามที่กฎหมายกำหนด เช่น "อันตรายจากก๊าซอุตสาหกรรม"