-
-
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
-
อบรมพนักงานใหม่
-
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
-
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
-
ภาพเกี่ยวกับSafety
-
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
-
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์
-
ความปลอดภัยในวัด
-
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
-
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
-
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
-
หญิงตั้งครรภ์
-
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
ดับเพลิง
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
-
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
-
-
ความปลอดภัยในโรงเรียน
-
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
-
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
-
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
-
การบรรยายด้านความปลอดภัย
-
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
-
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
-
อันตรายจากที่บ้าน
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
-
-
5ส
-
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
-
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก
-
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
-
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
-
5 ส ในโรงงาน ส สร้างวินัย
-
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
-
5ส และ Visual Control
-
โปรเตอร์ 5 ส
-
การตรวจและประเมินผล
-
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
-
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
-
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
-
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
-
5ส เพื่อตัวเอง
-
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
-
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
-
ถังขยะ
-
ทีมคณะกรรมการ 5ส
-
ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการทำ 5ส ให้ประสบความสำเร็จ
-
1 วันกับ 5ส
-
Big Cleaning Day
-
5ส ที่มองไม่เห็น
-
คู่มือ 5ส
-
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
-
สีที่ใช้ในโรงงาน
-
Thailand 5S Award 2022
-
-
5ส โรงพยาบาล
-
5ส เพื่อความปลอดภัย
-
Safety Mind การสร้างจิตสำนึกความปลอดภัย
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
KYT การหยั่งรู้อันตราย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
-
สาระสำคัญของการประเมินความเสี่ยงอันตรายของสวัสดิการจังหวัดชลบุรี
-
ผู้ชำนาญการฯกับสรุปสาระการประเมินความเสี่ยง
-
การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง
-
การวิเคราะห์เพื่อควบคุมความสูญเสีย
-
การป้องกันอุบัติเหตุ 3 E
-
วิธีปลูกฝังความปลอดภัยให้พนักงาน
-
7 เทคนิควิธี การชี้บ่งอันตรายใช้สำหรับการประเมินความเสี่ยง
-
-
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
-
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
-
การพูด
-
ทำไม ต้อง BBS
-
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
-
SOT : Safety Observation Tour
-
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
-
Safety with Krisana
-
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
-
ทฤษฎี ABC
-
ประสบการณ์ในการทำ BBS
-
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
-
ปิรามิดความปลอดภัย
-
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
-
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
-
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
-
-
SOT : Safety observation Tour
-
หยุด เรียก รอ
-
HORENSO
-
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
-
Safety Talk ก่อนทำงาน
-
Safety Talk Show
-
โรคจากการทำงาน
-
การยศาสตร์
-
การสอบสวนอุบัติเหตุ
-
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
-
ภาวะผู้นํา (Leadership)
-
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
-
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
-
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
-
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
-
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
-
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
-
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
-
แนะนำวิธีรับมือเหตุฉุกเฉินบนรถบัสเบื้องต้นครับ
-
มาตรการป้องกันและระงับเหตุไฟไหม้รถบัสรับส่งนักเรียน
-
มารยาทของพนักงานขับรถบรรทุก
-
อุบัติเหตุบนถนน ภัยจากการเดินทาง แนะนำผู้ขับขี่ปลอดภัย
-
ขับรถสถานการณ์ฉุกเฉิน
-
-
Kaizen&Safety
-
แผ่นดินไหว
-
................................
-
การยศาสตร์
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ความปลอดภัยสารเคมี
-
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
-
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
-
การเก็บกู้สารเคมีหกรั่วไหล
-
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
-
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
-
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
-
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
-
PPE
-
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
-
เกร็ดความรู้จาก สสปท
-
กฏหมายเคมี
-
การรายงานสารเคมีอันตราย
-
-
ความปลอดภัยสารไวไฟ
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
-
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
-
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
-
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
-
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
-
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
-
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
-
ความปลอดภัยด้านอัคคีภัย
-
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
-
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
-
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
-
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
-
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
ถังดับเพลิง
-
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
-
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
-
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
-
ความปลอดภัยสิ่งแวดล้อม
-
ความปลอดภัยงานเชื่อม
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
-
ความปลอดภัยรถขนส่ง
-
ความปลอดภัยยานพาหนะ
-
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
-
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
-
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
-
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
-
ความปลอดภัยรถตู้
-
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
-
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
-
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
-
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
-
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
-
เรื่องยางรถยนต์
-
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
-
-
ความปลอดภัยรถยก
-
ความปลอดภัยงานก่อสร้าง
-
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
-
อันตรายจากนั่งร้าน
-
คู่มือ
-
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
-
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
-
บันไดทำงานบนที่สูง
-
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
-
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
-
wi การทำงานนั่งร้าน
-
Check list ทำงานบนที่สูง
-
Check list งานก่อสร้าง
-
-
ความปลอดภัยทำงานที่สูง
-
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
-
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
-
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
-
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
-
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
-
WI งานที่อับอากาศ
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
-
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
-
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
-
-
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
-
ความปลอดภัยการยกของ
-
ความปลอดภัยด้านเครน
-
ความปลอดภัยงานเชื่อม
-
ความปลอดภัยด้านรังสี
-
Lock Out Tag Out
-
บทความ Safety
-
ความปลอดภัยในการทำงาน
-
ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ.
-
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
................................
-
อุบัติเหตุจากการทำงาน
-
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
-
อุบัติเหตุในการทำงาน
-
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุการระเบิด
-
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
-
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
-
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
-
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
-
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
-
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
-
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
-
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
-
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
-
3E และมาตรกรป้องกัน
-
-
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
-
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
-
Clip Safety & Accident
-
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
-
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
-
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
-
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
-
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
-
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
-
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
-
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอบรมพนักงานใหม่
-
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
-
คลิปLean Behavior Based Safety
-
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
-
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
-
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
-
-
................................
-
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
-
บอร์ดความปลอดภัย
-
Safety Week
-
Safety Plan
-
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
-
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
-
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
-
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
-
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
-
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
-
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
-
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
-
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
-
-
คู่มือความปลอดภัย
-
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
-
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
-
คู่มือ รปภ
-
ทางหนีไฟ
-
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
-
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
-
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
-
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
-
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
คู่มือความปลอดภัย 2554
-
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
-
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
-
แจกไฟล์หนังสือด้านความปลอดภัย
-
-
สิ่งแวดล้อม
-
PPE
-
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
-
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
-
Safety กับหน่วยงานราชาการ
-
คปอ
-
ผู้รับเหมา
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
-
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
-
รายงาน จปว
-
งาน จป
-
จป. คืออะไร
-
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
-
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
-
อบรมความปลอดภัย
-
หัวหน้างานและลูกน้อง
-
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
-
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
-
สิ่งแวดล้อม
-
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
สุขภาพร่างกาย
-
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
-
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
-
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
-
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
-
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
-
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
-
โครงการโรงงานสีขาว
-
บทความกำลังใจน้อง จป
-
The Mind Map กฏหมาย จป
-
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
-
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
-
แบบสปร.5
-
-
เพลงความปลอดภัย
-
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
-
การสอนงาน
-
ตลกขำขัน คลายเคลีย
-
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
-
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
-
วิธีสู่ความสำเร็จ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
Safety Mind จิตสำนึกความปลอดภัยในการทำงาน สำหรับ หัวหน้างาน 2 วัน
หลักสูตรการสร้างจิตสำนึกความปลอดภัยในการทำงาน สำหรับหัวหน้างาน ( 2 วัน)
(เน้นการสอบสวนอุบัติเหตุ-KYT-เขียนคู่มือความปลอดภัย-พูดคุย ชมเชย-สร้างพฤติกรรมความปลอดภัยสู่วัฒนธรรมความปลอดภัยอย่างยั่งยืน)
หลักการและเหตุผล
ในการทำงาน “ความปลอดภัย” เป็นสิ่งที่ต้องคำนึงอยู่เสมอ โดยอย่างยิ่งในภาคการผลิตและอุตสาหกรรมที่มีโอกาสสูงในการได้รับอันตรายจากการทำงาน เพราะต้องทำงานร่วมกับเครื่องจักร วัตถุดิบ หรือองค์ประกอบต่าง ๆ ที่ควรอยู่ในการควบคุม โดยส่วนใหญ่แล้วอุบัติเหตุมักเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และความประมาท แต่ก็มีไม่น้อยที่เกิดเพราะสิ่งแวดล้อม เช่น ในด้านอาคารสถานที่ กระบวนการที่ออกแบบมาไม่เหมาะสม ซึ่งในทุกกระบวนการหากเกิดอุบัติเหตุขึ้นมาแล้วไม่เพียงแต่ส่งผลเสียต่อผู้ปฏิบัติงาน ยังส่งผลเสียต่อภาพรวมการผลิต การทำงานที่ต้องหยุดชะงัก และมีต้นทุนมากมายจากความเสียหายนั้น ไปจนถึงด้านขวัญและกำลังใจ
“ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน” อันหมายถึงความปลอดภัยจากอุบัติต่าง ๆ ทั้งแก่ร่างกาย ชีวิต หรือทรัพย์สินในขณะที่ปฏิบัติงาน จึงมีความสำคัญในภาพรวมของทุกองค์กรอุตสาหกรรม
การสอบสวนและการรายงานอุบัติเหตุ เป็นการชี้บ่งถึงสาเหตุและลักษณะการเกิดอุบัติเหตุ โดยพิจารณาจากประเด็นรายละเอียดข้อมูลที่ได้จากการตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ และจากพยานที่เห็นเหตุการณ์ แล้วนํามาวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุทั้งสาเหตุทางตรง และสาเหตุทางอ้อม ซึ่งในการปฏิบัติที่ถูกต้องสถานประกอบการต้องมีการสอบสวนและรายงานอุบัติเหตุอย่างเป็นระบบ รวมถึงการจัดทำมาตรการป้องกัน และควบคุม ทั้งนี้วัตถุประสงค์สำคัญของการสอบสวน วิเคราะห์หาสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุแล้วนำมาจัดทำมาตรการป้องกัน หรือแผนการปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงานนั้นและการรายงานอุบัติเหตุเพื่อมิให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นซ้ำอีก
เทคนิคการฝึกการหยั่งรู้ระวังอันตราย แบบ KYT (Kiken Yoshi Training) เป็นเครื่องมือหรือเทคนิคในการวิเคราะห์ที่คิดค้นมาจากประเทศญี่ปุ่น และจัดได้ว่าเป็นเทคนิคหนึ่งที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์ความปลอดภัยในหลายองค์กรชั้นนำทั้งในและต่างประเทศ โดยเนื้อหาของการอบรม ความผิดพลาดของมนุษย์ ย่อมมีแต่เราต้องมาค้นหาอันตรายที่แอบแฝง แล้วมาร่วมกันคิดหามาตรป้องกันแก้ไข มือชี้ปากย้ำ เตือนสติก่อนปฏิบัติ เพื่อลดอุบัติเหตุเป็นศูนย์
“การสร้างจิตสำนึกความปลอดภัย” จากวิธีดังกล่าวเป็นเรื่องที่ดี แต่ยังไม่เพียงพอ โดยเฉพาะผู้บริหาร และหัวหน้างาน ควรที่จะเพิ่มเติมโดยการ “แสดงความรัก ความห่วงใย เข้าใจ ออกมาจากใจด้วยการกระทำที่ชัดเจน, ฟังให้มาก, พูดให้เขาคิดแต่ไม่สั่งให้เขาทำ, เสนอแนะให้เขายอมรับ และรับฟังที่เขาเสนอ, ชมเชยเมื่อมีโอกาส ไม่ต่อว่าถ้าต่อหน้าคนอื่น, เครียดไปไม่บรรเจิด สนุกเถิดจะเกิดผล” การ สร้างจิตสำนึกด้านความปลอดภัยต้องใช้เวลา การทำอย่างสม่ำเสมอ ถูกต้อง และได้รับการสนับสนุนจากฝ่ายบริหาร จะช่วยให้งานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยประสบความสำเร็จได้ อย่ารีบร้อน หรือผลักดันมากเกินไป พนักงานจำเป็นต้องใช้เวลาการปรับเปลี่ยน และซึมซับการสร้างจิตสำนึกความปลอดภัย เพื่อให้กลายเป็นนิสัย และพฤติกรรมความปลอดภัยติดตัวตลอดไป
วันแรก การสอบสวน การวิเคราะห์และการรายงานอุบัติเหตุ&การฝึกการหยั่งรู้ระวังอันตราย
หัวข้อการอบรม
♠ ความหมายของศัพท์ที่ควรรู้ ( Incident , Near Miss, Accident )
♠ สาเหตุของอุบัติเหตุ แลผลกระทบของอุบัติเหตุ
© การสอบสวน การวิเคราะห์และการรายงานอุบัติเหตุ
1. การรายงานอุบัติเหตุ
1.1 ผู้ทีมีหน้าและหัวข้อการรายงานอุบัติเหตุ
1.2 ขั้นตอนการรายงานอุบัติเหตุ
(1) ผู้พบเห็นเหตุการณ์การเกิดอุบัติเหตุ
(2) หัวหน้างานผู้รับผิดชอบในพื้นที่
(3) หัวหน้างานร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยฯ
. 2. การสอบสวนอุบัติเหตุ
2.1 แนวคิดการสอบสวนอุบัติเหตุ
2.2 วัตถุประสงค์ของการสอบสวนอุบัติเหตุ
2.3 ระบบการสอบสวนและรายงานอุบัติเหตุ
2.4 หลักการสอบสวนอุบัติเหตุ
2.5 ปัจจัยที่สำคัญเกี่ยวกับการสอบสวนอุบัติเหตุ
2.6 ขั้นตอนในการสอบสวนอุบัติเหตุ ( 5W 1 H )
© กิจกรรม KYT การฝึกการหยั่งรู้ระวังอันตราย
1. ความหมาย ประวัติ ความเป็นมา KYT
2. วัตถุประสงค์และประโยชน์ของการหยั่งรู้ระวังอันตราย KYT
3. การค้นหาอันตรายภายในสถานประกอบการ
4. ประเภทของ KYT ที่นิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน
- KYT 4 ยก ( 4 Rounds KYT)
- KYT จุดเดียว ( One Point KYT )
- KYT ปากเปล่า ( Oral KYT )
5. ขั้นตอนและวิธีการ ทำ KYT 4 ยก ค้นหาอันตราย วิเคราะห์ ว่ามีกิจกรรมใดบ้าง? และจะต้อง
ปฏิบัติอย่างไร? " มือชี้ ปากย้ำ" เตือนสติ ก่อนปฏิบัติงาน ด้วยการระดมสมอง
ยกที่ 1 ค้นหาจุดอันตราย จากภาพที่ซ่อนเร้น พร้อมสาเหตุ
ยกที่ 2 เลือกจุดอันตรายที่สำคัญที่สุด
ยกที่ 3 หามาตรการป้องกันแก้ไข
ยกที่ 4 เลือกมาตรการป้องกันที่ทำได้ง่าย ทันที
ตั้งสโลแกน โดยเลือกมาตรการป้องกันที่ดีที่สุด ทำและจำได้ง่าย ... เตือนสติก่อนทำงาน
- Workshop : กิจกรรมย่อย ทำร่วมกันเป็นกลุ่ม ร่วมค้นหาอันตราย ทำ KYT จากภาพหรืออุบัติเหตุ
ที่เคยเกิดขึ้น 2 รอบ KYT ปากเปล่า 1 รอบ
วันที่สอง การสร้างจิตสำนึกความปลอดภัยในการทำงานสำหรับหัวหน้างาน (Work Safety Awareness for Supervisor)
หัวข้อการอบรม
- สถิติและความสำคัญของความปลอดภัยในการทำงาน
- สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากการทำงาน
- การป้องกันและควบคุมอันตรายจากการทำงาน
- เทคนิคการทำอุบัติเหตุเป็น ศูนย์
- การฝึกเขียนลำดับขั้นตอนการทำงานและการวิเคราะห์งาน เพื่อความปลอดภัย จัดทำเป็นคู่มือความปลอดภัย
- ค้นหาและระบุพฤติกรรมเสี่ยง เพื่อส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมที่ปลอดภัย
- การสังเกตพฤติกรรม
- พบพฤติกรรมเสี่ยง ให้คำแนะนำ ตักเตือน เพื่อปรับปรุงและให้กำลังใจ
- พบลูกน้องทำงานดี มีพฤติกรรมปลอดภัย ต้องชม
- ช่วยกันชม ช่วยกันเตือน ไม่ต้องแยกหน่วยงานที่เกิดพฤติกรรมเสียงหรือปลอดภัย ด้วยความห่วงใย
- ขั้นตอนการกำจัดพฤติกรรมเสี่ยง ( หยุด สังเกต ทักทาย กำชับ)
- กฎความปลอดภัยที่ต้องบังคับให้กลายเป็นนิสัย
- การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย ที่เกิดจากทัศนคติความปลอดภัย และจิตสำนึกที่ดีของสมาชิกในองค์กรโดยการวางรากฐานของพฤติกรรมความปลอดภัย (Behavior-based safety)
รูปแบบการอบรม : บรรยาย 60 % Workshop 40 %
กลุ่มเป้าหมาย : พนักงาน หัวหน้างาน และผู้บริหาร
ระยะเวลาการอบรม: จำนวน 2 วัน ( 12 ชั่วโมง )
จำนวนผู้เข้าอบรม: 30-45 คน/รุ่น
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 .ผู้เข้ารับการอบรมสร้างสัญชาติญานความปลอดภัย คาดการณ์อันตรายล่วงหน้า เตือนสติก่อนปฏิบัติงาน
2. ผู้เข้าอบรมค้นหามีการค้นหาอันตรายในแผนก สร้างวินัย สร้างสามัคคี การทำงานเป็นทีม
3. ผู้เข้าอบรมเกิดความคิดแสดงความคิดเห็น กล้าพูด ในที่สาธารณะมากขึ้น
4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการสอบสวน รายงาน และการวิเคราะห์อุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
5. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจการตรวจสอบและวิเคราะห์หาสาเหตุการเกิดอุบัติเหตุแล้วนํามา
จัดทำมาตรการป้องกันและควบคุม หรือปรับปรุงแก้ไข เพื่อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุในลักษณะเดียวกันซ้ำอีก
6. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจถึงวิธีการและเทคนิคการสอบสวนอุบัติเหตุในสถานประกอบการ
7. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมร่วมกันสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยให้กับสถานประกอบการ