ย้อนกลับ
หน้าแรก
ข่าวสารความปลอดภัยและรับสมัครงาน จป
หลักสูตรอบรม
หลักสูตรที่น่าสนใจของอ.พงศ์สิทธิ์
Safety Mind จิตสำนึกความปลอดภัยในการทำงาน ( 1 วัน)
Safety Mind จิตสำนึกความปลอดภัยในการทำงาน สำหรับ หัวหน้างาน 2 วัน
หลักสูตรความปลอดภัยฯในการทำงาน สำหรับลูกจ้างทั่วไป และลูกจ้างใหม่
หลักสูตร 5 ส เพื่อเพิ่มผลผลิต ( 1 วัน) เน้นสายการผลิต
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
BBS การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
หลักสูตร Hiyari Hatto & KYT
5ส เพื่อเพิ่มผลผลิต ( 2 วัน)
5ส เพื่อเพิ่มผลผลิตและเทคนิคมาตรฐาน 5ส
5ส สู่ความสำเร็จแบบยั่งยืน
5ส และความปลอดภัยในการทำงาน
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
จิตสำนึก 5ส เพื่อเพิมค่านิยมวัฒนธรรมขององค์กร
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving) สำหรับรถบรรทุก
เทคนิคและวิธีการตรวจประเมิน 5ส ในพื้นที่ทำงาน
การยศาสตร์เพื่อเพิ่มผลผลิตและอาชีวอนามัยความปลอดภัย
CCCF การค้นหาอันตรายในการทำงาน
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
JSA การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
การประเมินความเสี่ยง (risk assessment)
Talk Show Safety Week
การสร้างแรงจูงใจและทัศนคติที่ดีในการทำงาน
เทคนิคทำมาตรฐาน 5สและการตรวจประเมิน 5ส
การขับรถฟอร์คลิฟอย่างปลอดภัย (Forklift Safety Drive Training)
พัฒนาทักษะคนขับรับส่งมืออาชีพ
ไคเซ็นเพื่อเพิ่มผลผลิต และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
หลักสูตร “ทักษะการเป็นหัวหน้างานที่มีประสิทธิภาพยุคใหม่”
เทคนิคการสอบสวนและการรายงานอุบัติเหตุ
โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
Hayari Hatto & หยุด เรียก รอ
สารเคมีอันตรายและการระงับเหตุฉุกเฉินกรณีสารเคมีรั่วไหล
ผลงาน
สถานบันการศีกษา
อบรมบริเวณกรุงเทพมหานคร
อบรมแถวสมุทรปราการ
อบรมบริษัทในจังหวัด ฉะเชิงเทรา ปราจีณบุรี
อบรมบริษัท... แถว... ระยอง
อบรมบริษัท... แถว... ชลบุรี
อบรมบริษัท... ภาคเหนือ
อบรมบริษัท... ภาคใต้
อบรมบริษัท... ภาคอีสาน
อบรมบริษัท... ภาคกลาง
อบรมบริษัท แถวปทุมธานีและอยุ
อบรมแถวสมุทรสาคร นครปฐม ราชบุรี
โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย สำหรับพนักงานขับรถ
ประวัติวิทยากร
ประกาศนียบัตรด้านการอบรม
ประวัติวิทยากรอาจารย์วินัย ดวงใจ
ประวัติวิทยากร อาจารย์พงศ์สิทธิ์ คำนึงธรรม
ติดต่อเรา
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
บทความดีดีจากอ.ไอศวรรย์
บทความดีดีจาก จป เมืองปากน้ำ (อ.สวิน)
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
์Near miss
Accident อุบัติเหตุ
Incident อุบัติการณ์
คลิปสื่อคำ Near Miss และ Accident
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. ๒๕๖๕
ภาพเกี่ยวกับSafety
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
หัวหน้างาน
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
ภาพโปรเตอร์
ความปลอดภัยในวัด
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
หญิงตั้งครรภ์
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
ดับเพลิง
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
5ส
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
5 ส ในโรงงาน สะดวก
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
5ส และ Visual Control
โปรเตอร์ 5 ส
การตรวจและประเมินผล
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
5ส เพื่อตัวเอง
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
ถังขยะ
ทีมคณะกรรมการ 5ส
ทำ 5 ส.ให้ประสบความสำเร็จ
1 วันกับ 5ส
Big Cleaning Day
5ส ที่มองไม่เห็น
คู่มือ 5ส
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
สีที่ใช้ในโรงงาน
Thailand 5S Award 2022
5ส โรงพยาบาล
ตัวอย่างแผ่นพับประชาสัมพันธ์
มาตรฐานในโรงพยาบาล
ตัวอย่างแนวคิด 5สตามโรงพยาบาลอื่นๆ
5ส และความปลอดภัยในการทำงาน
ตัวอย่าง5ส กับความปลอดภัย
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
การชนกระแทก
บันไดขึ้นที่สูง
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
JSA เทคนิคการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
ตัวอย่างของ SWI
JSA ที่เพื่อนนำมาแชร์
wi กับ manual แตกต่างกันตรงไหน
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
KYT การฝึกการหยั่งรู้ระวังอันตราย
ภาพตัวอย่างบริษัทที่ทำกิจกรรม KYT
KYT การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
รูปแบบ KYT
ไฟล์อบรม KYT
ภาพทางแยก ที่ระบุรูป ขวา OK ซ้าย OK หน้า OK
ฮิยาริ Hiyari hatto
ฮิยาริ Hiyari hatto
KOYOTEN คืออะไร
การประเมินความเสี่ยง
ประเมินความเสี่ยง
การวิเคราะห์เพื่อควบคุมความสูญเสีย
การป้องกันอุบัติเหตุ 3 E
การป้องกันอุบัติเหตุ 3 E
วิธีปลูกฝังความปลอดภัยให้พนักงาน
7 เทคนิควิธี การชี้บ่งอันตรายใช้สำหรับการประเมินความเสี่ยง
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
การพูด
ทำไม ต้อง BBS
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
SOT : Safety Observation Tour
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
Safety with Krisana
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
ทฤษฎี ABC
ประสบการณ์ในการทำ BBS
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
ปิรามิดความปลอดภัย
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
SOT : Safety observation Tour
เรามาทำความรู้จักกัน SOT
หยุด เรียก รอ
หยุดเรียกรอ
HORENSO
HORENSO
คลิปวีดีโอ โฮเรนโซ
บทความ HoRenSo
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
อันตรายจากเสียง
โปรเตอร์สื่อเรื่องเสียง
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
ประเภทอุปกรณ์ป้องกันเสียง
ภาพการสื่อสารในโรงงาน
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน สรุปประเด็นกฎหมาย
คลิปการอนุรักษ์การได้ยิน ฟังแล้วเข้าใจเลย
แจกไฟล์มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
Safety Talk ก่อนทำงาน
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
Safety toolbox talk
เทคนิคการทำ Safety Talk
Safety Talk
Safety Talk Show
cataler (thailand) กับ Safety Talk
Global Safety2016 Schneider
อินเตอร์ทูน
อีสเทิร์นซี แหลมฉบัง เทอร์มินัล
การประเมินความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยง
7 เทคนิควิธี การชี้บ่งอันตรายใช้สำหรับการประเมินความเสี่ยง
โรคจากการทำงาน
โรคจากการทำงาน
ไฟล์อบรมโรคจากการทำงาน
เลียนแบบ หลักสำคัญของไคเซ็น
คลิปเกี่ยวกับโรคจากการทำงาน
โปรเตอร์โรคจากการประกอบอาชีพ
การยศาสตร์
การยศาสตร์
เข็มขัดพยุงหลัง (ฺBackSupport)
โปรเตอร์
การยกและเคลื่อนย้ายอย่างถูกต้องเหมาะสม
หน่วยที่ทำงานและท่าทางการทำงาน
Office Syndrome
กำหนดอัตราน้ำหนักที่ยกสำหรับงานยกและเคลื่อนย้ายแต่ละประเทศ
การสอบสวนอุบัติเหตุ
การสอบสวนอุบัติเหตุ
แบบฟอร์มการสอบสวนอุบัติเหตุ
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
ปัญหาที่พบของหัวหน้างาน
ภาวะผู้นํา (Leadership)
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
การเตรียมตัวออกรถ
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
ยืดเส้นยืดสาย... สำหรับผู้ขับขี่และผู้นั่งในรถยนต์
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับขี่รถยนต์
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
ปรับกระจกมองข้าง ลดอุบัติเหตุ
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
Kaizen&Ssfety
ทำให้ตกยากด้วยการติดถุงมือแม่เหล็ก
การไม่ฝืนทำ เพื่อความปลอดภัย
ตัวอย่างที่ทำไคเซ็นประสบความสำเร็จ
คำว่า ไคเซ็น
................................
การยศาสตร์เพื่อความปลอดภัย
โปรเตอร์การยศาสตร์
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
การป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร
ไฟล์อบรม Lockout tagout
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเครื่องจักร
Check list เครื่องกลไฟฟ้า
โปรเตอร์เครื่องจักร
ลิฟท์ขนของ
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
6 ขั้นตอนที่จะต้องทำเมื่อเกิดเหตุสารเคมีหกล้น
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
ภาชนะบรรจุสารเคมีอันตราย ต้องติดฉลากเป็นภาษาไทย มีรายละเอียดอย่างน้อย 6 รายการ
SDS และ MSDS เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
การกำจัดสารเคมีหกรั่วไหล
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
การควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีในสถานที่ทำงานตามหลักการพื้นฐาน 3 ข้อ
PPE
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
ความปลอดภัยสารไวไฟ
ภาพที่เก็บสารไวไฟ
ทำไมถังแก๊สต้องใส่กุญแจล็อก
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุก๊าซ
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
ถังดับเพลิง
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สี และเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย มอก.635 เล่ม 1
ความปลอดภัยในสำนักงาน
การจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการจัดการกากของเสีย
การค้นหาอันตรายในการทำงาน
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
Check list งานเชื่อมไฟฟ้า
โปสเตอร์สื่องานเชื่อม
wi งานเชื่อม
อันตรายจากงานเชื่อม
ความปลอดภัยงานเชื่อม
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
จุดชาร์ตแบตเตอร์รี่ของรถโฟร์คลิฟท์ ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร?
ชาร์จแบตเตอรี่อย่างไรให้ปลอดภัย
WI Level 3 การทำงานบนที่สูงโดยใช้รถโฟล์คลิฟท์ยกกระเช้า
ความปลอดภัยรถเข็น
เช็คลิสต์ตรวจสองรถยกฟ็อคลิฟท์
เคลื่อนย้ายปลอดภัย
วิธีการยูกเคลื่อนย้ายสิ่งของ
ความปลอดภัยรถบรรทุกขนส่ง
ความปลอดภัยของรถบรรทุกขนส่ง
ความปลอดภัยยานพาหนะ
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
ความปลอดภัยรถตู้
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
เรื่องยางรถยนต์
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
ความปลอดภัยรถยก
ความปลอดภัยกับรถยกโฟลคลิฟท์
แบบทดสอบวิธีการใช้รถ Forklift อย่างปลอดภัย
กฏหมายเกี่ยวกับรถยกฟลอคลิฟท์
Check list รถยกฟลอคลิฟท์
คุณสูญเสียอะไรบ้างจากอุบัติเหตุจากรถยกฟลอคลิฟท์
คลิปเกี่ยวกับรถยกฟลอคลิฟท์
รูปแบบกระเช้ารถยก
ชุดคนขับรถยกโฟล์คลิฟท์
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
อันตรายจากนั่งร้าน
คู่มือ
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
บันไดทำงานบนที่สูง
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
wi การทำงานนั่งร้าน
Check list ทำงานบนที่สูง
Check list งานก่อสร้าง
ความปลอดภัยทำงานบนที่สูง
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
บันได
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
WI งานที่อับอากาศ
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
ความปลอดภัยและสุขอนมัยงานเจียร์
แบบฟอร์มการตรวจเครื่องมือเจียร์
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
ความปลอดภัยการยกของ
โปรเตอร์สื่อการยกของ
ความปลอดภัยด้านเครน
ไฟล์อบรมเพิ่มความสูงของเครนอย่างปลอดภัย
โปรเตอร์เกี่ยวกับเครน
7ความเชื่อผิดๆเกี่ยวกับงานเครน
ประกาศทดสอบปั่นจั่น
แบบตรวจเครน
ความปลอดภัยงานเชื่อม
ก้าวแรกของความปลอดภัยงานเชื่อม
ความปลอดภัยงานเชื่อม
ความปลอดภัยในโรงเรียน
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
อุบัติเหตุในโรงเรียน
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
การบรรยายด้านความปลอดภัย
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
อันตรายจากที่บ้าน
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
Lock Out Tag Out
Lock Out Tag Out
อุบัติเหตุที่เกิดจากไม่ Lock out Tag out
โปรเตอร์ Lock out Tag out
บทความ Safety
บทความดีดี
3ป.ปลอดภัย
ผลลัพธ์ที่ไม่อยากเจอกับตัวเอง
เพลง คลิปและโปรเตอร์ด้านความปลอดภัย
คลิปความปลอดภัย SOP
การบริหารและการจัดการความปลอดภัย
วิทยากรด้านความปลอดภัย
อุบัติเหตุจากอุปกรณ์ป้องกันไม่มี
การคำนวณสถิติอุบัติเหตุ
ความปลอดภัยในการทำงาน
แนวทางการัฒนาด้านความปลอดภัย
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ไฟล์อบรม พรบ 2554
สารเคมีอันตราย
หลักสูตรกฏหมายความปลอดภัย
หน่วยงานความปลอดภัย
สรปุกฎหมาย ภายใต้พระราชบญัญตัิความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํงาน พ.ศ. ๒๕๕๔
................................
อุบัติเหตุจากการทำงาน
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
อุบัติเหตุในการทำงาน
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
อุบัติเหตุการระเบิด
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
3E และมาตรกรป้องกัน
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
อุบัติเหตุจากลิฟท์
อุบัติเหตุจากการเลี้ยวรถยนต์
อุบัติเหตุที่คิดว่า มันคงไม่เกิดขึ้น
อุบัติเหตุในสำนักงาน
อุบัติเหตุจากการขับรถย้อนศร
อุบัติเหตุจากการระเบิด
อุบัติเหตุจากการระเบิด
อุบัติเหตุจากบันไดเลื่อน
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
คลิปการใช้โทรสัพท์ที่ปั๊มน้ำมันแล้วไฟไห้มจริงหรือ ?
คลิปอันตรายอาบน้ำมาจับโทรศัพท์กำลังชาร์ต
Clip Safety & Accident
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
คลิปอบรมพนักงานใหม่
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
คลิปLean Behavior Based Safety
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
................................
ความปลอดภัยรถยกฟลอคลิฟท์
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
Safety Gate (ประตูแห่งความปลอดภัย)
ประตูความปลอดภัย ของบริษัทที่ไปพบเจอมา
Safety Week
Safety week ราชการ
Safety Week บริษัทเอกชน
Safety week ฟูจิ เอซ
กิจกรรมและเกมส์
คำขวัญ Safety Week
การแสดงหน้าเวที
อินสเปคเตอร์ ช่วยคุณได้
ตัวอย่างแผนงานSafety week
Safety Plan
Safety Plan
CheckList ไปตรวจโรงงาน
นโยบายความปลอดภัย
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
คู่มือความปลอดภัย
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
คู่มือ รปภ
ทางหนีไฟ
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
คู่มือความปลอดภัย 2554
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อม
การจัดการกากอุตสาหกรรม
มาตรฐานสำนักงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
โรงงานมีฝุ่นมากจะทำอย่างไรดี
PPE
ความปลอดภัยของ PPE
กฏหมายเกี่ยวกับ PPE
เข็มขัดพยุงหลัง (BackSupport)
ภาพอุบัติเหตุจากการไม่สวมใส่ PPE
คลิปอุบัติเหตุจากการไม่สวมใส่หน้ากากกับงานเจียร
คลิปรณรงค์ความปลอดภัยของ PPE
ที่ล้างตาฉุกเเฉิน
ถุงมือ
หมวก
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
แนวการจัดทำแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
แผนฉุกเฉินสารเคมีหกรั่วไหล
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
ซ้อมแผนอพยยพหนีไฟและดับเพลิงประจำปี ฟูจิ เอซ
ตัวอย่างแผนซ้อมดำเพลิงประจำปี
แบบประเมินการฝึกซ้อมแผนฉุกเฉิน
แผนผังแสดงการดำเนินการตามแผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุ
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
ส่งน้องๆเดินทางกลับบ้านด้วยความปลอดภัย
รินไน (ประเทศไทย) กิจกรรมส่งน้องกลับบ้าน เทศกาลสงกรานต์59
ตัวอย่างถัง ที่เก็บขยะ
สิ่งแวดล้อม
กิจกรรม CSR
ต้อนรับพนักงานกลับบ้านหลังที่ สอง
รณรงค์เรื่องสูบบุหรี่
สื่อความปลอดภัยของบริษัท
การส่งเสริมความปลอดภัย
Safety กับหน่วยงานราชาการ
คำแนะนำ
คปอ
แนวทางการปฏิบัติของ คปอ.
บทบาทหน้าที่ คปอ.
การจัดตั้ง คปอ
ระยะเวลาการอบรมแลขึ้นทะเบียน
หัวข้อรายงานการประชุม คปอ
Safety Patrol
คำถามตอบเเกี่่ยวกับ คปอ
ผู้รับเหมา
ผู้รับเหมา
อบรมผู้รับเหมา
wi ผู้รับเหมา
สำหรับน้อง จป ใหม่
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
รายงาน จปว
งาน จป
จป. คืออะไร
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
อบรมความปลอดภัย
หัวหน้างานและลูกน้อง
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
สิ่งแวดล้อม
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
สุขภาพร่างกาย
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
โครงการโรงงานสีขาว
บทความกำลังใจน้อง จป
The Mind Map กฏหมาย จป
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
แบบสปร.5
เพลงความปลอดภัย
เพลง 3 ป ป.ปลูกจิตสำนึก ป.ประเมินความเสี่ยง ป.ปรับปรุง
เพลงเกี่ยวกับ PPE
แนวรักและห่วงใย
เพลงแนวเตือนสติก่อนทำงาน
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
ข้อคิดในการทำงาน
การสอนงาน
การสอนงาน
หัวหน้ากับลูกน้อง
ตลกขำขัน คลายเคลีย
การสื่อสาร
การกระทำ
สามีภรรยา
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
ธนบัตรทุกรุ่น ของรัชกาลที่9 saveเก็บไว้นะครับ
ข้อมูล ... ดีๆ เก็บไว้อ่าน
ปรัชญาชีวิติ
หลักบริหารการจัดการ
ยางรถ
การทำสไลด์ให้น่าสนใจ
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
การนอน
บทความด้านสุขภาพ
ออกกำลังกาย
วิธีสู่ความสำเร็จ
21 วิธี เพื่อก้าวสู่ความสำเร็จ
นิสัย 8 อย่างที่ควรทำถ้าอยากประสบความสำเร็จ
10 วิธีคิด พิชิตความสำเร็จ
5 วิธีตั้งเป้าหมายแล้วต้องไปให้ถึง
วิธีคิดของคนที่ประสบความสําเร็จในชีวิต ให้ท่องเอาไว้ทุกวัน
บันได 10 ขั้นสู่ความสำเร็จในการทำงาน
...
รวม พลัง สร้างสรรค์ สานฝันเพื่อ ความปลอดภัย
หน้าแรก
ข่าวสารความปลอดภัยและรับสมัครงาน จป
หลักสูตรอบรม
หลักสูตรที่น่าสนใจของอ.พงศ์สิทธิ์
Safety Mind จิตสำนึกความปลอดภัยในการทำงาน ( 1 วัน)
Safety Mind จิตสำนึกความปลอดภัยในการทำงาน สำหรับ หัวหน้างาน 2 วัน
หลักสูตรความปลอดภัยฯในการทำงาน สำหรับลูกจ้างทั่วไป และลูกจ้างใหม่
หลักสูตร 5 ส เพื่อเพิ่มผลผลิต ( 1 วัน) เน้นสายการผลิต
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
BBS การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
หลักสูตร Hiyari Hatto & KYT
5ส เพื่อเพิ่มผลผลิต ( 2 วัน)
5ส เพื่อเพิ่มผลผลิตและเทคนิคมาตรฐาน 5ส
5ส สู่ความสำเร็จแบบยั่งยืน
5ส และความปลอดภัยในการทำงาน
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
จิตสำนึก 5ส เพื่อเพิมค่านิยมวัฒนธรรมขององค์กร
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving) สำหรับรถบรรทุก
เทคนิคและวิธีการตรวจประเมิน 5ส ในพื้นที่ทำงาน
การยศาสตร์เพื่อเพิ่มผลผลิตและอาชีวอนามัยความปลอดภัย
CCCF การค้นหาอันตรายในการทำงาน
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
JSA การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
การประเมินความเสี่ยง (risk assessment)
Talk Show Safety Week
การสร้างแรงจูงใจและทัศนคติที่ดีในการทำงาน
เทคนิคทำมาตรฐาน 5สและการตรวจประเมิน 5ส
การขับรถฟอร์คลิฟอย่างปลอดภัย (Forklift Safety Drive Training)
พัฒนาทักษะคนขับรับส่งมืออาชีพ
ไคเซ็นเพื่อเพิ่มผลผลิต และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
หลักสูตร “ทักษะการเป็นหัวหน้างานที่มีประสิทธิภาพยุคใหม่”
เทคนิคการสอบสวนและการรายงานอุบัติเหตุ
โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
Hayari Hatto & หยุด เรียก รอ
สารเคมีอันตรายและการระงับเหตุฉุกเฉินกรณีสารเคมีรั่วไหล
ผลงาน
สถานบันการศีกษา
อบรมบริเวณกรุงเทพมหานคร
อบรมแถวสมุทรปราการ
อบรมบริษัทในจังหวัด ฉะเชิงเทรา ปราจีณบุรี
อบรมบริษัท... แถว... ระยอง
อบรมบริษัท... แถว... ชลบุรี
อบรมบริษัท... ภาคเหนือ
อบรมบริษัท... ภาคใต้
อบรมบริษัท... ภาคอีสาน
อบรมบริษัท... ภาคกลาง
อบรมบริษัท แถวปทุมธานีและอยุ
อบรมแถวสมุทรสาคร นครปฐม ราชบุรี
โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย สำหรับพนักงานขับรถ
ประวัติวิทยากร
ประกาศนียบัตรด้านการอบรม
ประวัติวิทยากรอาจารย์วินัย ดวงใจ
ประวัติวิทยากร อาจารย์พงศ์สิทธิ์ คำนึงธรรม
ติดต่อเรา
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
บทความดีดีจากอ.ไอศวรรย์
บทความดีดีจาก จป เมืองปากน้ำ (อ.สวิน)
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
์Near miss
Accident อุบัติเหตุ
Incident อุบัติการณ์
คลิปสื่อคำ Near Miss และ Accident
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
กฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. ๒๕๖๕
ภาพเกี่ยวกับSafety
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
หัวหน้างาน
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
ภาพโปรเตอร์
ความปลอดภัยในวัด
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
หญิงตั้งครรภ์
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
ดับเพลิง
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
5ส
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
5 ส ในโรงงาน สะดวก
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
5ส และ Visual Control
โปรเตอร์ 5 ส
การตรวจและประเมินผล
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
5ส เพื่อตัวเอง
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
ถังขยะ
ทีมคณะกรรมการ 5ส
ทำ 5 ส.ให้ประสบความสำเร็จ
1 วันกับ 5ส
Big Cleaning Day
5ส ที่มองไม่เห็น
คู่มือ 5ส
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
สีที่ใช้ในโรงงาน
Thailand 5S Award 2022
5ส โรงพยาบาล
ตัวอย่างแผ่นพับประชาสัมพันธ์
มาตรฐานในโรงพยาบาล
ตัวอย่างแนวคิด 5สตามโรงพยาบาลอื่นๆ
5ส และความปลอดภัยในการทำงาน
ตัวอย่าง5ส กับความปลอดภัย
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
การชนกระแทก
บันไดขึ้นที่สูง
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
JSA เทคนิคการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
ตัวอย่างของ SWI
JSA ที่เพื่อนนำมาแชร์
wi กับ manual แตกต่างกันตรงไหน
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
KYT การฝึกการหยั่งรู้ระวังอันตราย
ภาพตัวอย่างบริษัทที่ทำกิจกรรม KYT
KYT การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
รูปแบบ KYT
ไฟล์อบรม KYT
ภาพทางแยก ที่ระบุรูป ขวา OK ซ้าย OK หน้า OK
ฮิยาริ Hiyari hatto
ฮิยาริ Hiyari hatto
KOYOTEN คืออะไร
การประเมินความเสี่ยง
ประเมินความเสี่ยง
การวิเคราะห์เพื่อควบคุมความสูญเสีย
การป้องกันอุบัติเหตุ 3 E
การป้องกันอุบัติเหตุ 3 E
วิธีปลูกฝังความปลอดภัยให้พนักงาน
7 เทคนิควิธี การชี้บ่งอันตรายใช้สำหรับการประเมินความเสี่ยง
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
การพูด
ทำไม ต้อง BBS
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
SOT : Safety Observation Tour
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
Safety with Krisana
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
ทฤษฎี ABC
ประสบการณ์ในการทำ BBS
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
ปิรามิดความปลอดภัย
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
SOT : Safety observation Tour
เรามาทำความรู้จักกัน SOT
หยุด เรียก รอ
หยุดเรียกรอ
HORENSO
HORENSO
คลิปวีดีโอ โฮเรนโซ
บทความ HoRenSo
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
อันตรายจากเสียง
โปรเตอร์สื่อเรื่องเสียง
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
ประเภทอุปกรณ์ป้องกันเสียง
ภาพการสื่อสารในโรงงาน
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน สรุปประเด็นกฎหมาย
คลิปการอนุรักษ์การได้ยิน ฟังแล้วเข้าใจเลย
แจกไฟล์มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
Safety Talk ก่อนทำงาน
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
Safety toolbox talk
เทคนิคการทำ Safety Talk
Safety Talk
Safety Talk Show
cataler (thailand) กับ Safety Talk
Global Safety2016 Schneider
อินเตอร์ทูน
อีสเทิร์นซี แหลมฉบัง เทอร์มินัล
การประเมินความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยง
7 เทคนิควิธี การชี้บ่งอันตรายใช้สำหรับการประเมินความเสี่ยง
โรคจากการทำงาน
โรคจากการทำงาน
ไฟล์อบรมโรคจากการทำงาน
เลียนแบบ หลักสำคัญของไคเซ็น
คลิปเกี่ยวกับโรคจากการทำงาน
โปรเตอร์โรคจากการประกอบอาชีพ
การยศาสตร์
การยศาสตร์
เข็มขัดพยุงหลัง (ฺBackSupport)
โปรเตอร์
การยกและเคลื่อนย้ายอย่างถูกต้องเหมาะสม
หน่วยที่ทำงานและท่าทางการทำงาน
Office Syndrome
กำหนดอัตราน้ำหนักที่ยกสำหรับงานยกและเคลื่อนย้ายแต่ละประเทศ
การสอบสวนอุบัติเหตุ
การสอบสวนอุบัติเหตุ
แบบฟอร์มการสอบสวนอุบัติเหตุ
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
ปัญหาที่พบของหัวหน้างาน
ภาวะผู้นํา (Leadership)
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
การเตรียมตัวออกรถ
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
ยืดเส้นยืดสาย... สำหรับผู้ขับขี่และผู้นั่งในรถยนต์
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับขี่รถยนต์
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
ปรับกระจกมองข้าง ลดอุบัติเหตุ
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
Kaizen&Ssfety
ทำให้ตกยากด้วยการติดถุงมือแม่เหล็ก
การไม่ฝืนทำ เพื่อความปลอดภัย
ตัวอย่างที่ทำไคเซ็นประสบความสำเร็จ
คำว่า ไคเซ็น
................................
การยศาสตร์เพื่อความปลอดภัย
โปรเตอร์การยศาสตร์
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
การป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร
ไฟล์อบรม Lockout tagout
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเครื่องจักร
Check list เครื่องกลไฟฟ้า
โปรเตอร์เครื่องจักร
ลิฟท์ขนของ
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
6 ขั้นตอนที่จะต้องทำเมื่อเกิดเหตุสารเคมีหกล้น
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
ภาชนะบรรจุสารเคมีอันตราย ต้องติดฉลากเป็นภาษาไทย มีรายละเอียดอย่างน้อย 6 รายการ
SDS และ MSDS เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
การกำจัดสารเคมีหกรั่วไหล
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
การควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีในสถานที่ทำงานตามหลักการพื้นฐาน 3 ข้อ
PPE
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
ความปลอดภัยสารไวไฟ
ภาพที่เก็บสารไวไฟ
ทำไมถังแก๊สต้องใส่กุญแจล็อก
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุก๊าซ
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
ถังดับเพลิง
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สี และเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย มอก.635 เล่ม 1
ความปลอดภัยในสำนักงาน
การจัดการกากของเสียอุตสาหกรรม ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการจัดการกากของเสีย
การค้นหาอันตรายในการทำงาน
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
Check list งานเชื่อมไฟฟ้า
โปสเตอร์สื่องานเชื่อม
wi งานเชื่อม
อันตรายจากงานเชื่อม
ความปลอดภัยงานเชื่อม
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
จุดชาร์ตแบตเตอร์รี่ของรถโฟร์คลิฟท์ ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร?
ชาร์จแบตเตอรี่อย่างไรให้ปลอดภัย
WI Level 3 การทำงานบนที่สูงโดยใช้รถโฟล์คลิฟท์ยกกระเช้า
ความปลอดภัยรถเข็น
เช็คลิสต์ตรวจสองรถยกฟ็อคลิฟท์
เคลื่อนย้ายปลอดภัย
วิธีการยูกเคลื่อนย้ายสิ่งของ
ความปลอดภัยรถบรรทุกขนส่ง
ความปลอดภัยของรถบรรทุกขนส่ง
ความปลอดภัยยานพาหนะ
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
ความปลอดภัยรถตู้
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
เรื่องยางรถยนต์
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
ความปลอดภัยรถยก
ความปลอดภัยกับรถยกโฟลคลิฟท์
แบบทดสอบวิธีการใช้รถ Forklift อย่างปลอดภัย
กฏหมายเกี่ยวกับรถยกฟลอคลิฟท์
Check list รถยกฟลอคลิฟท์
คุณสูญเสียอะไรบ้างจากอุบัติเหตุจากรถยกฟลอคลิฟท์
คลิปเกี่ยวกับรถยกฟลอคลิฟท์
รูปแบบกระเช้ารถยก
ชุดคนขับรถยกโฟล์คลิฟท์
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
อันตรายจากนั่งร้าน
คู่มือ
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
บันไดทำงานบนที่สูง
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
wi การทำงานนั่งร้าน
Check list ทำงานบนที่สูง
Check list งานก่อสร้าง
ความปลอดภัยทำงานบนที่สูง
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
บันได
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
WI งานที่อับอากาศ
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
ความปลอดภัยและสุขอนมัยงานเจียร์
แบบฟอร์มการตรวจเครื่องมือเจียร์
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
ความปลอดภัยการยกของ
โปรเตอร์สื่อการยกของ
ความปลอดภัยด้านเครน
ไฟล์อบรมเพิ่มความสูงของเครนอย่างปลอดภัย
โปรเตอร์เกี่ยวกับเครน
7ความเชื่อผิดๆเกี่ยวกับงานเครน
ประกาศทดสอบปั่นจั่น
แบบตรวจเครน
ความปลอดภัยงานเชื่อม
ก้าวแรกของความปลอดภัยงานเชื่อม
ความปลอดภัยงานเชื่อม
ความปลอดภัยในโรงเรียน
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
อุบัติเหตุในโรงเรียน
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
การบรรยายด้านความปลอดภัย
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
อันตรายจากที่บ้าน
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
Lock Out Tag Out
Lock Out Tag Out
อุบัติเหตุที่เกิดจากไม่ Lock out Tag out
โปรเตอร์ Lock out Tag out
บทความ Safety
บทความดีดี
3ป.ปลอดภัย
ผลลัพธ์ที่ไม่อยากเจอกับตัวเอง
เพลง คลิปและโปรเตอร์ด้านความปลอดภัย
คลิปความปลอดภัย SOP
การบริหารและการจัดการความปลอดภัย
วิทยากรด้านความปลอดภัย
อุบัติเหตุจากอุปกรณ์ป้องกันไม่มี
การคำนวณสถิติอุบัติเหตุ
ความปลอดภัยในการทำงาน
แนวทางการัฒนาด้านความปลอดภัย
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ไฟล์อบรม พรบ 2554
สารเคมีอันตราย
หลักสูตรกฏหมายความปลอดภัย
หน่วยงานความปลอดภัย
สรปุกฎหมาย ภายใต้พระราชบญัญตัิความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํงาน พ.ศ. ๒๕๕๔
................................
อุบัติเหตุจากการทำงาน
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
อุบัติเหตุในการทำงาน
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
อุบัติเหตุการระเบิด
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
3E และมาตรกรป้องกัน
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
อุบัติเหตุจากลิฟท์
อุบัติเหตุจากการเลี้ยวรถยนต์
อุบัติเหตุที่คิดว่า มันคงไม่เกิดขึ้น
อุบัติเหตุในสำนักงาน
อุบัติเหตุจากการขับรถย้อนศร
อุบัติเหตุจากการระเบิด
อุบัติเหตุจากการระเบิด
อุบัติเหตุจากบันไดเลื่อน
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
คลิปการใช้โทรสัพท์ที่ปั๊มน้ำมันแล้วไฟไห้มจริงหรือ ?
คลิปอันตรายอาบน้ำมาจับโทรศัพท์กำลังชาร์ต
Clip Safety & Accident
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
คลิปอบรมพนักงานใหม่
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
คลิปLean Behavior Based Safety
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
................................
ความปลอดภัยรถยกฟลอคลิฟท์
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
Safety Gate (ประตูแห่งความปลอดภัย)
ประตูความปลอดภัย ของบริษัทที่ไปพบเจอมา
Safety Week
Safety week ราชการ
Safety Week บริษัทเอกชน
Safety week ฟูจิ เอซ
กิจกรรมและเกมส์
คำขวัญ Safety Week
การแสดงหน้าเวที
อินสเปคเตอร์ ช่วยคุณได้
ตัวอย่างแผนงานSafety week
Safety Plan
Safety Plan
CheckList ไปตรวจโรงงาน
นโยบายความปลอดภัย
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
คู่มือความปลอดภัย
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
คู่มือ รปภ
ทางหนีไฟ
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
คู่มือความปลอดภัย 2554
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อม
การจัดการกากอุตสาหกรรม
มาตรฐานสำนักงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
โรงงานมีฝุ่นมากจะทำอย่างไรดี
PPE
ความปลอดภัยของ PPE
กฏหมายเกี่ยวกับ PPE
เข็มขัดพยุงหลัง (BackSupport)
ภาพอุบัติเหตุจากการไม่สวมใส่ PPE
คลิปอุบัติเหตุจากการไม่สวมใส่หน้ากากกับงานเจียร
คลิปรณรงค์ความปลอดภัยของ PPE
ที่ล้างตาฉุกเเฉิน
ถุงมือ
หมวก
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
แนวการจัดทำแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
แผนฉุกเฉินสารเคมีหกรั่วไหล
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
ซ้อมแผนอพยยพหนีไฟและดับเพลิงประจำปี ฟูจิ เอซ
ตัวอย่างแผนซ้อมดำเพลิงประจำปี
แบบประเมินการฝึกซ้อมแผนฉุกเฉิน
แผนผังแสดงการดำเนินการตามแผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุ
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
ส่งน้องๆเดินทางกลับบ้านด้วยความปลอดภัย
รินไน (ประเทศไทย) กิจกรรมส่งน้องกลับบ้าน เทศกาลสงกรานต์59
ตัวอย่างถัง ที่เก็บขยะ
สิ่งแวดล้อม
กิจกรรม CSR
ต้อนรับพนักงานกลับบ้านหลังที่ สอง
รณรงค์เรื่องสูบบุหรี่
สื่อความปลอดภัยของบริษัท
การส่งเสริมความปลอดภัย
Safety กับหน่วยงานราชาการ
คำแนะนำ
คปอ
แนวทางการปฏิบัติของ คปอ.
บทบาทหน้าที่ คปอ.
การจัดตั้ง คปอ
ระยะเวลาการอบรมแลขึ้นทะเบียน
หัวข้อรายงานการประชุม คปอ
Safety Patrol
คำถามตอบเเกี่่ยวกับ คปอ
ผู้รับเหมา
ผู้รับเหมา
อบรมผู้รับเหมา
wi ผู้รับเหมา
สำหรับน้อง จป ใหม่
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
รายงาน จปว
งาน จป
จป. คืออะไร
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
อบรมความปลอดภัย
หัวหน้างานและลูกน้อง
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
สิ่งแวดล้อม
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
สุขภาพร่างกาย
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
โครงการโรงงานสีขาว
บทความกำลังใจน้อง จป
The Mind Map กฏหมาย จป
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
แบบสปร.5
เพลงความปลอดภัย
เพลง 3 ป ป.ปลูกจิตสำนึก ป.ประเมินความเสี่ยง ป.ปรับปรุง
เพลงเกี่ยวกับ PPE
แนวรักและห่วงใย
เพลงแนวเตือนสติก่อนทำงาน
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
ข้อคิดในการทำงาน
การสอนงาน
การสอนงาน
หัวหน้ากับลูกน้อง
ตลกขำขัน คลายเคลีย
การสื่อสาร
การกระทำ
สามีภรรยา
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
ธนบัตรทุกรุ่น ของรัชกาลที่9 saveเก็บไว้นะครับ
ข้อมูล ... ดีๆ เก็บไว้อ่าน
ปรัชญาชีวิติ
หลักบริหารการจัดการ
ยางรถ
การทำสไลด์ให้น่าสนใจ
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
การนอน
บทความด้านสุขภาพ
ออกกำลังกาย
วิธีสู่ความสำเร็จ
21 วิธี เพื่อก้าวสู่ความสำเร็จ
นิสัย 8 อย่างที่ควรทำถ้าอยากประสบความสำเร็จ
10 วิธีคิด พิชิตความสำเร็จ
5 วิธีตั้งเป้าหมายแล้วต้องไปให้ถึง
วิธีคิดของคนที่ประสบความสําเร็จในชีวิต ให้ท่องเอาไว้ทุกวัน
บันได 10 ขั้นสู่ความสำเร็จในการทำงาน
สมัครรับข่าวสาร
กรอกอีเมล
เมื่อท่านส่งข้อมูลผ่านฟอร์ม จะถือว่าท่านยอมรับใน
นโยบายความเป็นส่วนตัว
ของเรา
<a href="/" target="_blank"><img src="//sstatic1.histats.com/0.gif?3592911&101" alt="free stats" border="0"></a>
<a href="/" target="_blank"><img src="//sstatic1.histats.com/0.gif?3592911&101" alt="free stats" border="0"></a>
หน้าแรก
>
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
>
WI งานที่อับอากาศ
วิธีการปฏิบัติงานในที่อับอากาศ (Confined Space)
ข้อบังคับ คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
วิธีการปฏิบัติงานในที่อับอากาศ (Confined Space)
1. วัตถุประสงค์ : เพื่อให้การปฏิบัติงานที่เสี่ยงอันตราย มีความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงาน, ทรัพย์สินบริษัทฯ และลดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม
2. ขอบเขต : ทุกหน่วยงานรวมทั้งผู้รับเหมาที่ต้องทำงานเสี่ยงต่ออันตราย ภายในบริษัท
3. นิยาม
- จป.(ว) คือ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ระดับวิชาชีพ
- พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดเหตุที่มีความรุนแรงสูง คือ พื้นที่ที่มีโอกาสเกิดระเบิดหรือ เพลิงไหม้ และเสี่ยง ต่อการบาดเจ็บสาหัสขึ้นไป (หยุดงานเกิน 3 วันขึ้นไป) และส่งผลกระทบรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การทำงานในเขตพื้นที่ไวไฟ, การทำงานในพื้นที่อับอากาศ ,การทำงานในที่สูง
- ผู้อนุญาตให้ทำงานในที่อับอากาศ ได้แก่ นายจ้างหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากนายจ้างให้ทำหน้าที่เป็นผู้มีอำนาจอนุมัติในการออกหนังสือขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและต้องผ่านการอบรม ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศมาแล้ว ผู้อนุญาต โดยทั่วไปผู้อนุญาตจะเป็นเจ้าของพื้นที่และทำหน้าที่ในการ ควบคุม ดูแลกระบวนการผลิตในโรงาน เจ้าของพื้นที่ระดับหัวหน้าหน่วยขึ้นไป และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับวิชาชีพ ขึ้นไป
- ผู้ควบคุมงานในที่อับอากาศ คือ ผู้บังคับบัญชา หรือ หัวหน้างาน ของหน่วยงานที่จะต้องเข้าไปปฏิบัติงาน จะต้องผ่าน
การอบรม ความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศมาแล้ว และเป็นผู้ลงนาม ในใบขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศโดยทั่วไปหัวหน้างานหรือผู้ควบคุมงานส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับ ซ่อมบำรุง วิศวกรรม ผลิต อื่นๆ
- ผู้ช่วยเหลือ คือ ผู้ที่ถูกกำหนดให้เป็นผู้ช่วยเหลือโดย จำนวนของผู้ช่วยเหลือจะต้องเหมาะสมกับลักษณะความเสี่ยงของงานและต้อง ผ่านการอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศมาแล้วเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมและทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในที่อับอากาศทำการสื่อสารกับผู้ปฏิบัติงาน
- ผู้ปฏิบัติงาน คือ ผู้ที่จะต้องเข้าไปทำงานในที่อับอากาศมีลักษณะงาน ที่เสี่ยงต่อการได้รับหรือสัมผัสอันตรายจะต้องผ่านการอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ มาแล้ว
4. ผู้รับผิดชอบ : คณะกรรมการความปลอดภัย / หัวหน้าหน่วยงาน / เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับวิชาชีพ
จัดทำ และให้หัวหน้าหน่วยงาน นำขั้นตอนนี้ไปใช้
: เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับวิชาชีพ เป็นผู้รับผิดชอบติดตามตรวจสอบการนำไปปฏิบัติจริง
5. หน้าที่และความรับผิดชอบ
5.1 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต
5.1.1 ได้รับมอบหมายจาก นายจ้างใน การออกใบอนุญาตการ ทำงานในที่ อับอากาศ
5.1.2 มีอำนาจในการอนุมัติให้มีการทำงานในที่อับอากาศ
5.1.3พิจารณาร่วมกับผู้ขออนุญาตในการวางแผนการ ปฏิบัติงานและมาตรการป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น
5.1.4 ต้องทราบลักษณะอันตรายรวมทั้งผลของอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน
5.1.5 เป็นผู้เตรียมการตัดแยกระบบทุกระบบ
5.1.6 เตรียมให้มีระบบระบายอากาศที่ปลอดภัย
5.1.7 ต้องตระหนักถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน
5.1.8 รับผิดชอบในการสื่อสารไปยังแผนกที่เกี่ยวข้องภายใน พื้นที่โรงงานรับทราบถึงการปฏิบัติงาน
5.1.9 ต้องตรวจสอบให้มั่นใจว่าได้มีการเตรียมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในใบอนุญาตทำงาน
5.1.10 ต้องตรวจสอบให้มั่นใจว่าได้มีการเตรียมการปฏิบัติงานให้ เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในใบอนุญาตทำงาน
5.1.11 ตรวจสอบให้มั่นใจว่าในระหว่างการทำงานในที่อับอากาศ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามมาตรการที่ได้ กำหนดไว้
5.1.12 เป็นผู้เซ็นอนุมัติในการสิ้นสุดการทำงานตามที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต
5.2 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ควบคุมงาน
5.2.1 เป็นผู้ขออนุญาตให้มีการทำงานในที่ อับอากาศ
5.2.2 วางแผนการทำงานที่ปลอดภัยและปิดประกาศ หรือแจ้งให้ ผู้ปฏิบัติงานทราบเป็นลายลักษณ์อักษร
5.2.3 ทราบลักษณะอันตรายรวมทั้งผลของอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับ ผู้ปฏิบัติงาน
5.2.4 เป็นผู้ตรวจสอบบรรยากาศให้เหมาะสมก่อนที่จะอนุญาตเข้าทำงานในที่อับอากาศ
5.2.5 ชี้แจงซักซ้อมหน้าที่รับผิดชอบ วิธีปฏิบัติให้เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้
5.2.6 ตรวจสอบขั้นตอนการทำงานให้มีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องตลอด การทำงาน
5.2.7 ต้องมั่นใจว่าอุปกรณ์ที่นำมาใช้ต้องมีความเหมาะสมและทำงานได้อย่างถูกต้อง
5.2.8 ควบคุมให้ผู้ปฏิบัติงานใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยฯ และ ตรวจตราให้อุปกรณ์อยู่ในสภาพที่พร้อม
ใช้งาน
5.2.9 ต้องมั่นใจว่าพื้นที่ทำงานต้องมีเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องที่ได้รับอนุญาตอยู่ในพื้นที่ทำงานเท่านั้น
5.2.10 ตรวจสอบให้มั่นใจว่ามีแผนฉุกเฉินและทีมช่วยเหลือพร้อม ปฎิบัติงานได้ตลอดเวลา
5.2.11 สั่งให้หยุดการทำงานไว้ชั่วคราวหรือขอให้ผู้อนุญาตยกเลิกการ อนุญาตในกรณีเกิดภาวะที่ไม่ปลอดภัย
5.2.12 เป็นผู้ขออนุญาตสิ้นสุดการทำงาน และตรวจสอบการทำงานเมื่อ งานนั้นเสร็จ สมบูรณ์แล้ว
5.3 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ช่วยเหลือ
5.3.1 ต้องรู้อันตรายที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการเข้าไปทำงานในที่อับอากาศ
5.3.2 กำหนดรูปแบบการสื่อสารกับผู้ทำงานในที่อับอากาศให้เข้าใจง่ายที่สุด
5.3.3 ซักซ้อมความเข้าใจร่วมกันกับผู้ปฏิบัตงานถึงวิธีการสื่อสารการ ให้สัญญาณ ทั้งในกรณีเหตุการณ์ปกติ และ
ฉุกเฉิน
5.3.4 เป็นผู้มีความชำนาญในการตรวจวัดสภาพอากาศทั้งก่อนขณะ ปฎิบัติงานให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัย
5.3.5 เฝ้าระวังสังเกตพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงของผู้ปฏิบัติงาน
5.3.6 ควบคุมให้ผู้ที่ผ่านเข้าไปทำงานเป็นผู้ที่ได้รับอนุญาติเท่านั้น
5.3.7 ดำเนินตามขั้นตอนปฏิบัติงานในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
5.3.8 ต้องทราบหลัการและวิธีการในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในกรณีฉุกเฉิน
5.3.9 ต้องมั่นใจว่าอุปกรณ์ที่ใช้ช่วยเหลือมีความพร้อม และเพียงพอรวมทั้งมีความปลอดภัยในการ ใช้งาน
5.3.10 มีทักษะความชำนาญในการใช้อุปกรณ์ช่วยชีวิตเป็นอย่างดี
5.3.11 คอยเฝ้าดูแลทางเข้าออกที่อับอากาศโดยให้สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ปฏิบัติงานได้ตลอดเวลา
5.3.12 ข้อควรปฏิบัติของผู้ช่วยเหลือ
- ให้ติดต่อเจ้าหน้าความปลอดภัยเพื่อทำการตรวจสภาพความเรียบร้อยทั่วๆไป
- มีการตรวจวัดสารพิษสารไวไฟ และปริมาณอากาศที่หายใจ
- มีใบอนุญาตทำงานที่ถูกต้อง
- เครื่องมือที่ใช้ผ่านการตรวจสภาพแล้ว
- มีเครื่องป้องกันภัยส่วนบุคคลครบถ้วน
- เตรียมอุปกรณ์แสงสว่างที่เพียงพอ และเป็นชนิดป้องกันระเบิดได้
- ให้ตรวจสอบรายชื่อ-จำนวนผู้ที่เข้าไปปฏิบัติงาน
- ให้นัดแนะกับผู้ที่จะเข้าไปปฏิบัติงานในที่อับอากาศว่าจะใช้สัญญาณติดต่อกันแบบใด
- ให้ตรวจสอบจนแน่ใจว่าอุปกรณ์ช่วยหายใจ/ช่วยชีวิตที่จัดหาไว้พร้อมใช้งานได้ดี
- หากผู้ช่วยเหลือจำ เป็นต้องเลิกหรือหยุดปฏิบัติงาน จะต้องให ้ผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ในที่อับอากาศนั้น ๆ
ออกมาเสียก่อน
- หากผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ ประสพปัญหาตกอยู่ในภาวะฉุกเฉิน ให้ผู้ช่วยเหลือรีบติดต่อผู้ควบคุม
งาน/ผู้อนุญาต/เจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัย เพื่อร้องขอความช่วยเหลือต่อไป
- หากเกิดเหตุฉุกเฉินขึ้นภายนอก ผู้ช่วยเหลือจะต้องรีบแจ้งให้ผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ภายในสถานที่อับอากาศทราบทันที และคอยดูแลให้ทุกคนออกจากที่นั้นๆ อย่าง ปลอดภัย ห้ามมิให้ละทิ้งหน้าที่ ในขณะที่ผู้ปฏิบัติงานยังออกจากที่อับอากาศไม่ได้โดยเด็ดขาด
- หากต้องหยุดปฏิบัติงานชั่วคราว (หลังจากผู้ปฏิบัติงานออกมาจากที่อับอากาศ แล้ว ) จะต้องมีการปิดช่องทาง เข้า – ออก โดยมีป้ายเครื่องหมายแสดง “ ที่อับ อากาศ อันตราย ห้ามเข้า ” ติดไว้ให้เห็นเด่นชัด
- ผู้ช่วยเหลือจะต้องปฏิบัติหน้าที่อยู่ในตำแหน่งที่สามารถมองเห็นหรือติดต่อกับผ ู้เข้าปฏิบัติงานในที่อับอากาศได้ง่าย
- ห้ามมิให้ผู้ช่วยเหลือเข้าไปในที่อับอากาศอย่างเด็ดขาด ถึงแม้จะเป็นการเข้าไปเพื่อ ช่วยชีวิตคนอื่น ๆ ที่อยู่ภายในที่อับอากาศก็ตาม (ให้รอทีมช่วยเหลือ)
- หากมีปัญหาหรือข้อขัดข้องใด ๆให้รีบติดต่อพนักงานที่รับผิดชอบทันที
5.4 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน
5.4.1 ทราบอันตรายที่จะเกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
5.4.2 ทราบขีดความสามารถของร่างกายตนเองว่าสามารถทำงานในที่อับอากาศได้หรือไม่
5.4.3 ต้องทำความเข้าใจและซักซ้อมรายละเอียดดังต่อไปนี้เป็น อย่าง น้อย
- ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยตามที่กำหนดไว้
- วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ต้องนำเข้าปฏิบัติงาน
- วิธีใช้ PPE ต่างๆ เช่น ถุงมือ หมวกนิรภัย
- วิธีการสื่อสาร เช่น การให้สัญญาณ
- การขอความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน
5.4.4 ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ระบุในใบอนุญาต อย่างเคร่งครัด
5.4.5 ต้องสวมใส่ PPE ตลอดการปฏิบัติงาน
5.4.6 ต้องเพิ่มระมัดระวังเมื่อมีสถานการณ์ที่ผิดปกติเกิดขึ้น
5.4.7 ต้องเรียนรู้วิธีการช่วยเหลือตัวเองเบื้องต้นเมื่อพบว่าเริ่มมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย
5.4.8 ฝึกทักษะความชำนาญในการให้สัญญาณเพื่อขอความช่วยเหลือ เมื่อพบความผิดปกติ
5.4.9 ทราบวิธีการอพยพออกจากที่อับอากาศได้ทันทีเมื่อผู้ควบคุมงาน หรือผู้ช่วยเหลือให้สัญญาณ
5.4.10 แจ้งผลการปฏิบัติงานทุกครั้งเมื่อปฏิบัติงานนั้น เสร็จสมบูรณ์
5.4.11 ข้อควรปฏิบัติผู้ปฏิบัติงาน
- ฟังชี้แจงรายละเอียดและ ขั้นตอนการทำงาน , อันตรายที่อาจได้รับ, การ ปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
- แจ้งปัญหาสุขภาพที่เป็นอันตรายต่อการเข้าทำงานให้ผู้ควบคุมงาน ทราบเพื่อจัดหาคนอื่นทำแทน
- จัดเตรียมอุปกรณ์/เครื่องมือในการทำงานให้เหมาะสมและเพียงพอ
- สวมใส่ใช้เครื่องป้องกันอันตราย และ PPE
- ห้ามนำอุปกรณ์/เครื่องมืออื่นใดที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าไป
- ห้ามดื่มน้ำ , ทานอาหาร, สูบบุหรี่ในที่อับอากาศ
- พักผ่อนให้เพียงพอ
- ตกลงวิธีการติดต่อสื่อสารกับผู้ช่วยเหลือ
- ลงชื่อ/เวลาที่เข้า-ออก
6. ขั้นตอนการปฏิบัติ : ให้ตรวจสอบความเรียบร้อยและความปลอดภัย ก่อนอนุญาตให้ทำงานได้ตามขั้นตอน ดังนี้
6.1 ข้อกำหนดทั่วไป
6.1.1 ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ช่วยเหลือหรือผู้เฝ้าระวัง ผู้ควบคุมงาน และผู้อนุญาต ในการทำงานในที่อับอากาศ ต้องผ่านการอบรมและมีเอกสารยืนยันกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ว่าผ่านการอบรมเป็นที่ถูกต้องตามที่ข้อกำหนดของกฎหมายความปลอดภัยฯ ที่อธิบดีได้กำหนดไว้ทุกประการ ถึงจะสามารถทำงานในที่อับอากาศได้
6.1.1.1 ในกรณีผู้ปฏิบัติงาน ผู้ช่วยเหลือหรือผู้เฝ้าระวัง ผู้ควบคุมงาน และผู้อนุญาต ยังไม่ผ่านการอบรมตามที่กฎหมายความปลอดภัยฯ ที่อธิบดีกำหนด ให้ผู้ที่สามารถอบรมหลักสูตรฯ ดังกล่าวตามที่กฎหมายกำหนด ได้อย่างถูกต้อง ทำการอบรมและผ่านเกณฑ์ตามที่กฎหมายความปลอดภัยฯ ที่อธิบดีกำหนด ถึงจะสามารถทำงานในที่อับอากาศได้
6.1.1.2 ห้ามผู้ที่ไม่ผ่านการอบรมการทำงานในที่อับอากาศ ตามหลักสูตร ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ช่วยเหลือหรือผู้เฝ้าระวัง ผู้ควบคุมงาน ผู้อนุญาต ที่อธิบดีกำหนด ทำการปฏิบัติงานในที่อับอากาศโดยเด็ดขาด
6.1.1.3 ก่อนการปฏิบัติงาน ต้องทำการตรวจสอบผู้ปฏิบัติงาน ผู้ช่วยเหลือหรือผู้เฝ้าระวัง ว่าอยู่ในสภาพปกติ ไม่มีอาการเศร้าซึม เหม่อลอย ง่วงนอน มึนเมา ฯลฯ
6.1.1.4 หากผู้ปฏิบัติงาน ผู้ช่วยเหลือหรือผู้เฝ้าระวังอยู่ในสภาพไม่ปกติ ผู้ควบคุมงานหรือผู้อนุญาต ต้องทำการเปลี่ยนพนักงานคนอื่น ที่อยู่ในสภาพปกติ มาปฏิบัติงานแทน หรือให้ผู้ช่วยเหลือหรือผู้เฝ้าระวังซึ่งอยู่ในสภาพไม่ปกติ ทำการพักฟื้นก่อน เมื่อยู่ในสภาพปกติแล้ว จึงให้ทำหน้าที่ตามปกติได้
6.1.1.5 การทำงานในที่อับอากาศจะมีผู้เกี่ยวข้องทั้ง 4 กลุ่ม ๆ ละ อย่างน้อย 1 คน โดยแต่ละคน จะต้องปฏิบัติงานคนละหน้าที่เท่านั้น ทำหลายหน้าที่ไม่ได้
6.1.1.6 ห้ามผู้ปฏิบัติงาน ผู้ช่วยเหลือหรือผู้เฝ้าระวัง ที่เป็นโรคหัวใจ โรคทางเดินหายใจหรือโรคที่แพทย์กำหนด ทำงานในที่อับอากาศโดยเด็ดขาด
6.2 การชี้บ่งงานที่ต้องขอใบอนุญาต
- หัวหน้าหน่วยงาน ผู้ควบคุมงาน ร่วมกับเจ้าหน้าที่ จป. และคณะกรรมการ คปอ. พิจารณาถึงสภาพอันตรายของงานและพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายที่ต้องขออนุญาตก่อนปฏิบัติงาน โดยใช้หลักวิธีประเมินความเสี่ยงในการเกิดอันตรายดังต่อไปนี้
- Check list
- What if
- FMEA
- FTA
- ETA
- HAZOP
- JSA
- ฯลฯ
เพื่อความปลอดภัยในการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน และเป็นการเตรียมมาตรการป้องกันและแก้ไข ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ในการทำงาน รวมไปจนถึงการเตรียมความพร้อมที่จะเกิดขึ้น หากเกิดอันตรายที่อาจได้รับกรณีฉุกเฉิน และวิธีการหลีกหนีภัย
6.3 ขั้นตอนการขอใบอนุญาตปฏิบัติงาน
- หัวหน้างานหรือเจ้าของงาน ทำการขอใบอนุญาตก่อนเข้าทำงาน ที่เป็นผู้รับผิดชอบสถานที่ โดยใช้แบบฟอร์มที่ กำหนดไว้ในข้อ 5.1
- หัวหน้าหน่วยงานหรือพนักงานที่เป็นผู้รับผิดชอบสถานที่และผู้ที่มีอำนาจลงนามในใบอนุญาต (ตามที่ระบุในทะเบียนงานที่ต้องขออนุญาต) เป็นผู้ทำการตรวจสอบทุกรายการที่ระบุไว้ในใบอนุญาต หากมีรายการใดไม่ผ่าน ต้องดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุง และดำเนินการตรวจสอบใหม่จนมั่นใจว่า สามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัยพร้อมกับพิจารณาลงนามออกใบอนุญาตให้ทำงานในพื้นที่อับอากาศของหน่วยงาน
- สำหรับงานในบางพื้นที่ ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุที่มีความรุนแรงสูง เช่น การระเบิด กำหนดให้มีวิศวกรหรือผู้ชำนาญการพิเศษ และ/หรือผู้บริหารระดับผู้จัดการส่วนขึ้นไปเข้าร่วมในการตรวจสอบความปลอดภัย ก่อนการปฏิบัติงาน
- กรณีงานที่ต้องทำการตรวจวัดสภาพแวดล้อมบริเวณที่ทำงาน เช่น วัดปริมาณออกซิเจน, ปริมาณก๊าซติดไฟ เป็นต้น เจ้าของงานต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย (จป. วิชาชีพ) ขอทำการตรวจวัดก่อนทำการขอใบอนุญาต ไม่เกิน 1 ชั่วโมงก่อนปฏิบัติงาน และควรตรวจวัดทุก 1 ชั่วโมง โดยผู้ควบคุมงาน หลังจากการตรวจวัดครั้งแรก และบันทึกผลการตรวจวัดในแบบฟอร์มแบบตรวจวัดปริมาณแก๊สและอุณหภูมิในสถานที่ทำงาน (xx-xx-xx-xx-xx)
6.4 การใช้ใบอนุญาต
- ใบอนุญาตมีอายุใช้งานได้สูงสุดไม่เกิน 8 ชั่วโมง หรือภายในกะทำงานงานเร่งด่วนที่ต้องทำต่อเนื่อง ทั้งนี้ให้ผู้ออกใบอนุญาตคอยตรวจติดตามสภาพความปลอดภัยตามใบอนุญาต
- เจ้าของงานต้องเริ่มปฏิบัติงานภายใน 2 ชั่วโมง หลังออกใบอนุญาต หากมีเหตุจำเป็นล่าช้าออกไป แจ้งผู้ออกใบอนุญาตทราบทันที พร้อมคืนใบอนุญาตเดิม และขอออกใบอนุญาตใหม่แทน
- ใบอนุญาตมี 2 ชุด ต้นฉบับให้เจ้าของงานเก็บไว้ที่หน้างาน ฉบับสำเนาให้ผู้อนุญาตเก็บไว้เป็นหลักฐาน
- ผู้ลงนามออกใบอนุญาต ต้องรับผิดชอบ ติดตามตรวจสอบ การปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามใบอนุญาต หากมีการปฏิบัติงานนอกเหนือขอบเขต ให้สั่งระงับการทำงาน
- ผู้ลงนามในใบอนุญาต ต้องเข้าใจและควบคุมดูแลให้การ/ปฏิบัติงาน ตามรายละเอียดที่ระบุในใบอนุญาต
- งานไม่เสร็จตามกำหนด ต้องขอต่อใบอนุญาตก่อนใบอนุญาตเดิมหมดอายุอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
6.5 การขอปิดงาน
- งานเสร็จตามกำหนด เจ้าของงานนำใบอนุญาตคืนผู้ออกใบอนุญาตพร้อมแจ้งขอปิดงาน
- หัวหน้าหน่วยงาน ผู้รับผิดชอบสถานที่ ร่วมกับผู้ขออนุญาต ตรวจสอบความเรียบร้อยเก็บรวบรวมใบอนุญาตทั้ง 2 ฉบับคืนให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน (จป. วิชาชีพ)
- หัวหน้าหน่วยงานผู้รับผิดชอบสถานที่นำใบอนุญาตเก่าที่หมดอายุส่ง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย (จป.วิชาชีพ)
7. ข้อบังคับการทำงาน
7.1 ข้อบังคับการทำงานในสถานที่อับอากาศ
7.1.1 ก่อนปฏิบัติงานต้องขออนุญาตปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ ตามแบบฟอร์มใบอนุญาตให้ทำงานในสถานที่อับอากาศ (xx-xx-xx-xx-xx)
7.1.2 ต้องตรวจสอบปริมาณออกซิเจน สารเคมี ฝุ่นละออง ไอ ฟูม ค่า LEL ของสารเคมีต่าง ๆ ให้ค่าต่าง ๆ อยู่ภายใต้เกณฑ์ความปลอดภัยตามที่กฎหมายกำหนด ก่อนที่จะปฏิบัติงาน บันทึกลงในแบบฟอร์มแบบตรวจวัดปริมาณแก๊สและอุณหภูมิในสถานที่ทำงาน (xx-xx-xx-xx-xx)
7.1.3 ตรวจสอบอุปกรณ์การทำงานในที่อับอากาศ เช่น เครื่องช่วยหายใจ (SCBA) เชือกนิรภัย หรืออุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน อยู่ตลอดเวลา
7.1.4 ตรวจสอบ ทดสอบ ไฟฟ้าแสงสว่าง สายไฟ อุปกรณ์ไฟฟ้า ที่ใช้ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยจึงเข้าไปปฏิบัติงานได้
7.1.5 เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องจักรอุปกรณ์ต้องถูกต้องเหมาะสมอยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งาน
7.1.6 ห้ามปฏิบัติงานตามลำพังคนเดียว ต้องมีผู้ช่วยเหลือหรือผู้เฝ้าระวัง และผู้ควบคุมงาน คอยสังเกตและตรวจสอบการทำงานอยู่ตลอดเวลา
7.1.7 หากอากาศมีการถ่ายเทไม่เหมาะสม ควรใช้พัดลมเป่าช่วยระบายอากาศขณะปฏิบัติงาน
7.1.8 ก่อนและหลังปฏิบัติงาน ต้องตรวจเช็คจำนวนผู้ปฏิบัติงานร่วมทีมงานทุกครั้ง
7.1.9 หลังจากปฏิบัติงานเสร็จแล้วทุกครั้ง ให้ทำการตรวจสอบอุปกรณ์การทำงานในที่อับอากาศ เช่น เครื่องช่วยหายใจ (SCBA) เชือกนิรภัย หรืออุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน อยู่ตลอดเวลา
7.1.10 หากเครื่องช่วยหายใจ (SCBA) ถูกนำไปใช้งานจนอากาศภายในถังหมดแล้วหรือเหลือน้อยกว่าที่จะนำไปใช้งานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ปฏิบัติงานได้ ให้ทำการแยกออกจากจุดเก็บหรือติดป้ายบ่งชี้ว่า “ถังเก็บอากาศหมดแล้ว รอส่งไปเติม”
7.1.11 ให้ปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องตามที่กฎหมายกำหนดทุกประการ
ที่มา
www.jorpor.com
สวัสดีครับ
ขอนำ
WI งานที่อับอากาศ
ของน้ิอง
seriphab
และคุณ
tudsanai047
เวป jorpor .com
WI_งานที่อับอากาศ.docx
1,195.77 K
04_เอกสารประกอบอบรมการทำงานในที่อับอากาศ_update_57-1_(1).pdf
2,990.07 K
Visitors:
585,763