-
-
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
-
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
-
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
-
ภาพเกี่ยวกับSafety
-
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
-
หัวหน้างาน
-
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์
-
ความปลอดภัยในวัด
-
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
-
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
-
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
-
หญิงตั้งครรภ์
-
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
ดับเพลิง
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
-
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
-
-
5ส
-
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
-
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก
-
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
-
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
-
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
-
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
-
5ส และ Visual Control
-
โปรเตอร์ 5 ส
-
การตรวจและประเมินผล
-
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
-
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
-
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
-
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
-
5ส เพื่อตัวเอง
-
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
-
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
-
ถังขยะ
-
ทีมคณะกรรมการ 5ส
-
ทำ 5 ส.ให้ประสบความสำเร็จ
-
1 วันกับ 5ส
-
Big Cleaning Day
-
5ส ที่มองไม่เห็น
-
คู่มือ 5ส
-
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
-
สีที่ใช้ในโรงงาน
-
Thailand 5S Award 2022
-
-
5ส โรงพยาบาล
-
5ส และความปลอดภัยในการทำงาน
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
การประเมินความเสี่ยง
-
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
-
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
-
การพูด
-
ทำไม ต้อง BBS
-
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
-
SOT : Safety Observation Tour
-
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
-
Safety with Krisana
-
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
-
ทฤษฎี ABC
-
ประสบการณ์ในการทำ BBS
-
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
-
ปิรามิดความปลอดภัย
-
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
-
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
-
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
-
-
SOT : Safety observation Tour
-
หยุด เรียก รอ
-
HORENSO
-
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
-
Safety Talk ก่อนทำงาน
-
Safety Talk
-
Safety Talk Show
-
การประเมินความเสี่ยง
-
โรคจากการทำงาน
-
การยศาสตร์
-
การสอบสวนอุบัติเหตุ
-
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
-
ภาวะผู้นํา (Leadership)
-
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
-
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
-
การเตรียมตัวออกรถ
-
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
-
ยืดเส้นยืดสาย... สำหรับผู้ขับขี่และผู้นั่งในรถยนต์
-
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับขี่รถยนต์
-
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
-
ปรับกระจกมองข้าง ลดอุบัติเหตุ
-
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
-
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
-
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
-
แนะนำวิธีรับมือเหตุฉุกเฉินบนรถบัสเบื้องต้นครับ
-
มาตรการป้องกันและระงับเหตุไฟไหม้รถบัสรับส่งนักเรียน
-
มารยาทของพนักงานขับรถบรรทุก
-
-
Kaizen&Ssfety
-
................................
-
การยศาสตร์เพื่อความปลอดภัย
-
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
-
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
-
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
-
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
-
6 ขั้นตอนที่จะต้องทำเมื่อเกิดเหตุสารเคมีหกล้น
-
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
-
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
-
ภาชนะบรรจุสารเคมีอันตราย ต้องติดฉลากเป็นภาษาไทย มีรายละเอียดอย่างน้อย 6 รายการ
-
SDS และ MSDS เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
-
การกำจัดสารเคมีหกรั่วไหล
-
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
-
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
-
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
การควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีในสถานที่ทำงานตามหลักการพื้นฐาน 3 ข้อ
-
PPE
-
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
-
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
-
-
ความปลอดภัยสารไวไฟ
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
-
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
-
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
-
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
-
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
-
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
-
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
-
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
-
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
-
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
-
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
ถังดับเพลิง
-
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
-
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
-
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
-
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
-
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
-
ความปลอดภัยรถบรรทุกขนส่ง
-
ความปลอดภัยยานพาหนะ
-
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
-
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
-
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
-
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
-
ความปลอดภัยรถตู้
-
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
-
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
-
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
-
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
-
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
-
เรื่องยางรถยนต์
-
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
-
-
ความปลอดภัยรถยก
-
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
-
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
-
อันตรายจากนั่งร้าน
-
คู่มือ
-
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
-
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
-
บันไดทำงานบนที่สูง
-
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
-
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
-
wi การทำงานนั่งร้าน
-
Check list ทำงานบนที่สูง
-
Check list งานก่อสร้าง
-
-
ความปลอดภัยทำงานบนที่สูง
-
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
-
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
-
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
-
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
-
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
-
WI งานที่อับอากาศ
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
-
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
-
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
-
-
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
-
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
-
ความปลอดภัยด้านเครน
-
ความปลอดภัยงานเชื่อม
-
ความปลอดภัยในโรงเรียน
-
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
-
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
-
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
-
การบรรยายด้านความปลอดภัย
-
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
-
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
-
อันตรายจากที่บ้าน
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
-
-
Lock Out Tag Out
-
บทความ Safety
-
ความปลอดภัยในการทำงาน
-
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
................................
-
อุบัติเหตุจากการทำงาน
-
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
-
อุบัติเหตุในการทำงาน
-
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุการระเบิด
-
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
-
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
-
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
-
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
-
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
-
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
-
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
-
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
-
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
-
3E และมาตรกรป้องกัน
-
-
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
-
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
-
Clip Safety & Accident
-
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
-
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
-
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
-
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
-
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
-
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
-
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
-
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอบรมพนักงานใหม่
-
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
-
คลิปLean Behavior Based Safety
-
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
-
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
-
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
-
-
................................
-
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
-
บอร์ดความปลอดภัย
-
Safety Week
-
Safety Plan
-
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
-
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
-
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
-
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
-
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
-
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
-
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
-
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
-
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
-
-
คู่มือความปลอดภัย
-
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
-
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
-
คู่มือ รปภ
-
ทางหนีไฟ
-
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
-
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
-
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
-
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
-
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
คู่มือความปลอดภัย 2554
-
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
-
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
-
-
สิ่งแวดล้อม
-
PPE
-
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
-
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
-
Safety กับหน่วยงานราชาการ
-
คปอ
-
ผู้รับเหมา
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
-
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
-
รายงาน จปว
-
งาน จป
-
จป. คืออะไร
-
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
-
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
-
อบรมความปลอดภัย
-
หัวหน้างานและลูกน้อง
-
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
-
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
-
สิ่งแวดล้อม
-
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
สุขภาพร่างกาย
-
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
-
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
-
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
-
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
-
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
-
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
-
โครงการโรงงานสีขาว
-
บทความกำลังใจน้อง จป
-
The Mind Map กฏหมาย จป
-
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
-
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
-
แบบสปร.5
-
-
เพลงความปลอดภัย
-
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
-
การสอนงาน
-
ตลกขำขัน คลายเคลีย
-
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
-
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
-
วิธีสู่ความสำเร็จ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า
( SAFETY IN ELECTRICAL WORKS )
กระแสไฟฟ้า ที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมใช้เป็นตัวต้นกำลังให้กับเครื่องจักรต่าง ๆ มีอันตรายมาก ที่สุดและ รวดเร็ว ที่สุดเมื่อเข้าไปสัมผัส แต่กลายเป็นเรื่องที่ทุกคนมองข้ามไป ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง ควรมีความ รู้ความ เข้า ใจ ในการทำงาน เกี่ยว กับไฟฟ้า ในอุตสาหกรรมไทย กระแสไฟฟ้าที่ใช้ มีแรงเคลื่อน 220 โวลท์ และ 380 โวลท์ ความถี่ 50 เฮิร์ท เรานำ ไฟฟ้ามา ใช ้ ใน รูปแบบต่างๆ ดังนี้
1. เป็นต้นกำลังพลังงานกล
2. เป็นแหล่งให้แสงสว่าง
3. เป็นแหล่งให้ความร้อน โดยต่อเข้ากับขดลวดชุดความร้อน
4. เป็นแหล่งหรือสื่อกลางของการสื่อสาร
5. เป็นแหล่งให้พลังงานกับอุปกรณ์
6. เป็นแหล่งใหัอำนาจแม่เหล็กกับอุปกรณ์
7. เป็นแหล่งให้เกิดปฏิกิริยาเคมี
สาเหตุสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
1. จากตัวคนงานเอง
1. ขาดความรู้ที่แท้จริงเกี่ยวกับหลักการและกฎทางไฟฟ้า
2. ขาดความระมัดระวังตัว เพราะไม่เห็นถึงความอันตรายของไฟฟ้า และเพราะไกล้ชิดกับไฟฟ้าจนเคยชิน
3. ขาดสำนึกที่ว่า ธรรมชาติของไฟฟ้ามองไม่เห็นด้วยตาเปล่า และหยั่งรู้ด้วยประสาทสัมผัสอื่นๆไม่ได้ จะรู้เมื่อสัมผัสเท่านั้น2. จากระบบการบริหาร
1.ขาดความต่อเนื่องทางเทคนิคเกี่ยวกับไฟฟ้า ไม่มีแบบแปลนไฟฟ้าที่ถูกต้องประจำโรงงาน ข้อมูลและ ตัวเลขทางเทคนิคต่าง ๆของระบบ ไฟฟ้าในโรงานก็ไม่มี หรือมีก็ไม่ครบ ไม่ทันสมัย หรือ ตรวจสอบยาก
2.มีการต่อเติมระบบไฟฟ้าอย่างไม่เป็นระบบ และบ่อยครั้งไม่ถูกหลักวิชาการ หรือเมื่อต่อเติมก็ไม่ได้ เพิ่มเติม ในแบบแปลน
3.ขาดช่างเทคนิคที่มีความสามารถ และมีจำนวนไม่เพียงพอกับงาน บางโรงงานไม่มีช่างไฟฟ้า ประจำหรือมีน้อย จนทำให้ทำงานไม่ทัน ขาดการเอาใจใส่จากผู้บังคับบัญชา4.เข้าใจผิดว่า ไฟฟ้าเป็นเรื่องที่ใคร ๆ ก็ทำได้จึงมองข้ามความสำคัญของช่างไฟฟ้า
5.อุปกรณ์ไฟฟ้าในประเทศมีราคาแพง มีของเลียนแบบที่ถูกกว่าอยู่มาก จึงมีการใช้ของที่มีคุณภาพต่ำ กว่ามาตรฐาน โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ทำให้ระบบไฟฟ้าในโรงงานไม่มีมาตรฐานเพียงพอ
6.ในการซ่อมแซมเครื่องจักรกลที่มีไฟฟ้าอยู่ด้วย มักทำโดยไม่มีระบบ ลอคเอ๊าท์
7.ขาดการประสานงานที่ดี ระหว่างฝ่ายผลิตกับซ่อมบำรุง ทำให้เข้าใจผิดในการสั่งงาน อาจทำให้เกิด อันตรายได้ ข้อควรระวังในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
1. เมื่อพบว่า ฝาครอบ กล่องสวิทช์ชำรุดเสียหาย ควรรีบเปลี่ยนและซ่อมแซมทันที
2. รักษาความสะอาดเรียบร้อยของบริเวณที่มีสวิทช์อยู่ไกล้ ๆ
3. ตรวจสอบ ภายในแผงสวิทช์ ตู้ควบคุม ไม่ให้มีเศษที่นำไฟฟ้าอยู่ ห้ามนำฟิวส์ออกจากตู้ควบคุม
4. ควรใช้ฟิวส์ให้ถูกขนาด และสับสวิทช์เมื่อทำการแก้ไขซ่อมแซม 5. ฝาครอบไม่ควรเป็นสารที่ลุกติดไฟได้
6. ตวรจสอบสวิทช์ตัดตอนเป็นประจำทุกเดือน
7. สวิทช์ควรมีป้ายแสดงรายละเอียดดังนี้
A. ใช้กับกระแสตรงหรือสลับ
B . ความต่างศักย์ทางไฟฟ้า
C . กระแสไฟฟ้า
D. เครื่องมือที่ต่อกับสวิทช์นั้น
E. ชื่อผู้รับผิดชอบ8. ต้องสับสวิทช์ให้วงจรไฟฟ้าเปิด เมื่อตรวจสอบหรือซ่อมแซม และ มีป้ายเตือนว่า กำลังซ่อม
9. การส่งสัญญาณในการเปิด ปิด สวิทช์ควรทำด้วยความระมัดระวัง
10. ห้ามเปิดสวิทช์เมื่อมือเปียกน้ำ
11. การสลักเกลียวเพื่อยึดสายไฟควรขันให้แน่น
12. การเปิดสวิทช์ให้เครื่องทำงาน ควรแน่ใจว่าไม่มีอะไรติดอยู่ข้างในเครื่องจักร การใช้สวิทช์ตัดตอน
1. สวิทช์ที่ใช้งานกับส่วนที่อาจเกิดอันตรายสูง ผู้รับผิดชอบต้องหมั่นตรวจสอบดูแล และทำป้ายบอกเตือน
2. ในการตรวจหรือซ่อมแซมเครื่องจักร ต้องมีป้าย หรือสัญลักษณ บอกว่า กำลังซ่อม ์ติดที่สวิทช์
3. การใช้สวิทช์ควบคุมเครื่องที่ใช้ร่วมกันหลายคน ควรมีหลักเกณฑ์การปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน
4. การทำงานร่วมกัน ระหว่างคนงาน 2 กลุ่ม ที่ใช้เครื่องร่วมกัน ต้องใช้อย่างระมัดระวัง ประสานงานกัน อย่างดี ก่อนที่จะทำการเปิดปิดสวิทช์ไฟฟ้าการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ไฟฟ้า
1. ตวรจสอบสายไฟฟ้า ถ้าชำรุดให้ใช้เทปพันเป้นแนวนหุ้มให้เรียบร้อย และตวรจจุดต่อสายไฟด้วย
2. อุปกรณ์ที่เคลื่อนที่ได้ควรตรวจสอบบริเวณจุดข้อต่อ ขั้วที่ติดอุปกรณ์ สายไฟฟ้าด้วยความระวัง ถ้า ชำรุดควรเปลี่ยนให้อยู่ในสภาพดี
3. รักษาสภาพเครื่องมือที่เคลื่อนย้ายได้ให้อยู่ในสภาพดีตลอด
4. ดวงโคมไฟฟ้าต้องมีที่ครอบ ป้องกันหลอดไฟ
5. การเปลี่ยนหรือซ่อมแซมอุปกรณ์ควรให้ช่างทางเครื่องมือเป็นผู้ดำเนินการ
6. ห้ามจับสายไฟขณะที่ไฟฟ้าไหลอยู่
7. อย่าแขวนสายไฟบนของมีคม เช่น มีด เลื่อย ใบพัด
8. การใช้เครื่องมือทางไฟฟ้า ควรต่อเปลือกหุ้มที่เป็นโลหะลงสู่ดิน
9. การใช้มอเตอร์ หม้อแปลง ควรมีผู้รับผิดชอบควบคุมในการเปิดปิดใช้งาน
10. ในส่วนที่อาจก่อให้เกิดอันตรายควรมี ป้าย ไฟสัญญาณ ธงสีแดง เทปแดง ติดแสดงไว้
11. ถ้าเกิดเหตุการณ์ผิดปกติกับอุปกรณ์ควรแจ้งให้ผู้รับผิดชอบทราบ
12. ห้ามปลดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายทางไฟฟ้า ออก เว้นแต่ได้รับอนุญาต
13. เมื่อใช้งานเสร็จควรปิดสวิทช์ และต้องแน่ใจว่าสวิทช์ได้ปิดลงแล้ว
14. ควรหมั่นทำความสะอาดให้ปราศจากฝุ่นละออง
15. ควรระวังไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์สูง
16. ควรเอาใจใส่ดูแลสายไฟฟ้าแรงสูง ตรวจสภาพอยู่เสมอ
17. ห้ามห่อหุ้มโคมไฟด้วยกระดาษ หรือ ผ้า
18. ห้ามนำสารไวไฟหรือ สารลุกติดไฟง่ายเข้าไกล้กับสวิทช์
19. ห้ามใช้อุปกรณ์ขณะมือเปียกน้ำ
20. เมื่อมีผู้ได้รับอันตราย ควรสับสวิทช์ให้วงจรไฟฟ้าเปิด
21. เมื่อไฟฟ้าดับ ไฟฟ้าช๊อต ควรสับสวิทช์ให้วงจรไฟฟ้าเปิด
22. ไม่ควรเดินเหยียบสายไฟฟ้า
23. ควรกดสวิทช์ให้แน่ใจว่าสวิทช์ไม้ค้าง
การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า
1. การติดตั้งต้องดูแลโดยช่างหรือผู้ชำนาญ เว้นแต่งานที่มีความต่างศักย์ต่ำกว่า 50 โวลท์ ซึ่งต่อลงดิน เรียบร้อยแล้ว
2. การติดตั้งต้องผ่านการปรึกษาหารือ จากผู้ชำนาญ โดยเฉพาะการสื่อสารเมื่อมีการทำงานในขณะกระแสไฟฟ้าไหลอยู่
3. การติดตั้งอุปกรณ์ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันโดยเฉพาะ หรือมีแนวนหุ้มดี
4. ไม่ควรทำงานในขณะที่กระแสไฟฟ้าไหลอยู่
5. การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าต้องปฏิบัตตามกฎหมายและมาตรฐานทางไฟฟ้า
6. ห้ามเปิดชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่เมื่อเปิดแล้วจะมีกระแสไฟฟ้าไหลควรใช้ฝาครอบหรือฉนวนกั้น
7. อุปกรณ์หรือสายไฟฟ้าที่ติดตั้งในที่สูง ต้องมีฉนวนหุ้มอย่างดี ตรวจสอบความเรียบร้อยอยู่เสมอ
8. เมื่อมีการอุปกรณ์ไฟฟ้าบนถนน ควรมีระบบป้องกันอันตรายเฉพาะงาน
9. หมั่นตรวจสอบฉนวนหุ้ม อุปกรณ์อยู่เสมอ ในบริเวณที่อาจสัมผัส หรือทำงาน
10. กรณีการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ที่อาจมีการขัดจังหวะงานได้ ควรระวัง
11. เครื่องจักรทุกชนิดควรมีระบบสายดินที่ดี
12. เครื่องจักรบางชนิดที่สับสวิทช์ให้ทำงานแล้วไม่สามารถกดสวิทช์ให้มาทำงานที่จุดเริ่มต้นได้ ควรม ีป้ายบอกไว้ชัดเจน
13. ต้องมีการถ่ายเทประจุไฟฟ้าเมื่อเครื่องมือนั้นมีประจุค้างอยู่
การทำงานขณะมีกระแสไฟฟ้าไหลอยู่ไฟฟ้าแรงสูง
1. ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับงาน เช่น ถุงมือ ยาง รองเท้าหุ้มส้น หมวกแข็ง
2. ถ้าต้องทำงานไกล้ไฟฟ้าแรงสูง น้อยกว่า 60 เซนติเมตร ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย ที่เป็นฉนวนอย่างดี
3. ในกรณีที่อยู่ห่างมากกว่า 60 เซนติเมตร ใช้อุปกรณ์รองลงมา
4. ในการทำงานต้องปรึกษาช่างหรือผู้ชำนาญการทางไฟฟ้าเสียก่อน และ ต้องมีผู้ชำนาญการควบคุม ดูแล
5. คนงานไม่ควรพักไกล้สายไฟฟ้าแรงสูง
6. การใช้อุปกรณ์เครื่องมือ ต้องใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมกับงาน
ไฟฟ้าแรงต่ำ
1. สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายเฉพาะสำหรับไฟฟ้าแรงต่ำ
2. ในกรณีที่อาจสัมผัสสายไฟฟ้าแรงต่ำ ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกัยอันตราย และ ทำการฉนวนอย่างเหมาะสม
คัดลอกบทความจาก...
http://www.thai-interelectric.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=132294&Ntype=7