-
-
ความรู้ดีดีจากประสบการณ์ จป
-
คำศัพท์ทางความปลอดภัย
-
กฏหมาย จป ฉบับใหม่
-
ภาพเกี่ยวกับSafety
-
ภาพเสี่ยงอันตรายและปลอดภัย
-
หัวหน้างาน
-
ภาพกราฟฟิตเกี่ยวกับ SAFETY
-
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย Unsafe Act
-
สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์
-
ความปลอดภัยในวัด
-
ภาพกระทำไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย Near Miss ,Accident
-
ภาพบันไดที่ปลอดภัย
-
ภาพโปรเตอร์ความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
ภาพสื่อกฏหมาย พรบ.
-
ภาพความปลอดภัยในWarehouse
-
หญิงตั้งครรภ์
-
ภาพความปลอดภัยเครื่องจักร
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
ดับเพลิง
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในสถานประกอบการ
-
ภาพเสี่ยงอันตราย ปรับให้ปลอดภัย
-
-
5ส
-
ความเป็นมาของ 5ส และบทความ
-
คลิปสื่อการอบรมกิจกรรม 5 ส
-
5 ส ในโรงงาน ส สะสาง
-
5 ส ในโรงงาน สะดวก
-
5 ส ในโรงงาน ส สะอาด
-
5ส ในโรงงาน สร้างมาตรฐาน
-
5 ส ในโรงงาน ส สร้างนิสัย
-
ประโยชน์ของการทำกิจกกรม 5 ส
-
5ส และ Visual Control
-
โปรเตอร์ 5 ส
-
การตรวจและประเมินผล
-
ภาพเปรียบเที่ยบก่อนทำและหลังทำ
-
ตัวอย่างบริษัทที่ทำ 5 ส เปรียบเสมีอนเราไปดูงานจริง
-
บอร์ดทำกิจกรรม 5 ส
-
ป้ายประชาสัมพันธุ์ในโรงงาน
-
5ส เพื่อตัวเอง
-
เครื่องมือและเทคนิคการส่งเสริมความปลอดภัย
-
5ส องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต QCDSMPEE หรือ Big Q
-
ถังขยะ
-
ทีมคณะกรรมการ 5ส
-
ทำ 5 ส.ให้ประสบความสำเร็จ
-
1 วันกับ 5ส
-
Big Cleaning Day
-
5ส ที่มองไม่เห็น
-
คู่มือ 5ส
-
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำกิจกรรม 5ส
-
สีที่ใช้ในโรงงาน
-
Thailand 5S Award 2022
-
-
5ส โรงพยาบาล
-
5ส และความปลอดภัยในการทำงาน
-
ปรับเปลี่ยนให้ปลอดภัย
-
JSA เทคนิควิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
-
KYT การหยั่งรู้ระวังอันตราย
-
ฮิยาริ Hiyari hatto
-
การประเมินความเสี่ยง
-
ฺฺBBS ปลูกฝังพฤติกรรมปลอดภัย
-
ไฟล์ข้อมูลการสังเกตุพฤติกรรม
-
การพูด
-
ทำไม ต้อง BBS
-
BBS : (Behavior-based safety) การปลูกฝังพฤติกรรมความปลอดภัย
-
SOT : Safety Observation Tour
-
ผมเชื่อพฤติกรรมเปลี่ยนได้
-
Safety with Krisana
-
การ์ด..การพยากรณ์ความปลอดภัย และยุทธวิธีสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร
-
ทฤษฎี ABC
-
ประสบการณ์ในการทำ BBS
-
การพัฒนาความปลอดภัยต้องควบคุมพฤติกรรม
-
ปิรามิดความปลอดภัย
-
BBS:what if พูดให้คิด ดีกว่าบอกให้เขาทำ
-
ภาพจุดเสี่ยงอันตรายในโรงงานสำหรับฝึก BBS
-
BBS ตัวอย่างที่ SP GROUP
-
วัฒนธรรมความปลอดภัย แต่ละบริษัท
-
การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
-
-
SOT : Safety observation Tour
-
หยุด เรียก รอ
-
HORENSO
-
มาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
-
Safety Talk ก่อนทำงาน
-
Safety Talk
-
Safety Talk Show
-
การประเมินความเสี่ยง
-
โรคจากการทำงาน
-
การยศาสตร์
-
การสอบสวนอุบัติเหตุ
-
ทักษะหัวหน้างาน บทบาทหน้าที่
-
ภาวะผู้นํา (Leadership)
-
การขับขี่ปลอดภัย (Defensive Driving)
-
ขับขี่ปลอดภัยเชิงป้องอุบัติเหตุ
-
การเตรียมตัวออกรถ
-
น้ำหนักบรรทุกของรถขนส่ง
-
ยืดเส้นยืดสาย... สำหรับผู้ขับขี่และผู้นั่งในรถยนต์
-
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับขี่รถยนต์
-
สาเหตุที่ลูกค้าร้องเรียน
-
ปรับกระจกมองข้าง ลดอุบัติเหตุ
-
คลิปอุบัติเหตุเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย
-
คลิปเตือนภัยสำหรับรถจักรยานยนต์
-
ขับขี่ปลอดภัยรถขนส่งสารเคมีอันตราย
-
แนะนำวิธีรับมือเหตุฉุกเฉินบนรถบัสเบื้องต้นครับ
-
มาตรการป้องกันและระงับเหตุไฟไหม้รถบัสรับส่งนักเรียน
-
มารยาทของพนักงานขับรถบรรทุก
-
-
Kaizen&Ssfety
-
................................
-
การยศาสตร์เพื่อความปลอดภัย
-
ความปลอดภัยด้านเครื่องจักร
-
ความปลอดภัยสารเคมีอันตราย
-
การควบคุมและความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
-
คู่มือเกี่่ยวกับสารเคมีและสารอันตราย
-
6 ขั้นตอนที่จะต้องทำเมื่อเกิดเหตุสารเคมีหกล้น
-
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
-
SDS มาจากคำเต็มว่า Safety Data Sheet
-
ภาชนะบรรจุสารเคมีอันตราย ต้องติดฉลากเป็นภาษาไทย มีรายละเอียดอย่างน้อย 6 รายการ
-
SDS และ MSDS เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
-
การกำจัดสารเคมีหกรั่วไหล
-
โรงงานที่ต้องจัดให้มีบุคคลากรเฉพาะ(บฉ)
-
การเก็บสารเคมีให้ถูกต้อง
-
ไฟล์อบรมสารเคมีอันตราย
-
โปรเตอร์สารเคมีอันตราย
-
การควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีในสถานที่ทำงานตามหลักการพื้นฐาน 3 ข้อ
-
PPE
-
ประเมินสุขภาลูกจ้างกรณีการใช้สารเคมี
-
แผนรองรับเหตุฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล
-
-
ความปลอดภัยสารไวไฟ
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
การรับรองความรู้ความสามารถช่างไฟฟ้าภายในอาคาร
-
กฏหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
กฏหมายเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
การ์ตูนความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้าในงานก่อสร้าง
-
คลิปความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
-
โปรเตอร์เกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอุบัติเหตุจากไฟฟ้า
-
จ้าของบ้านต้องรู้ไว้ สมอ.ออกกฎใหม่
-
คู่มือแบบตรวจสอบพร้อมคาอธิบาย (Checklist) มาตรการการป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
-
ไฟล์ความรู้ความปลอดภัยไฟฟ้าโหลดได้
-
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย จากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
การป้องกันเหตุอัคคีภัย
-
แนวการจัดทํา แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
โปรเตอร์รณรงค์การป้องกันอัคคีภัย
-
สตง.ตรวจพบโรงภาพยนตร์ทั้งหมดใน กทม.มีระบบป้องกันอัคคีภัยไม่ได้มาตรฐาน
-
ป้องกันเพลิงไห้มและไฟป่า
-
ความปลอดภัยอัคคีภัย2
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย
-
ถังดับเพลิง
-
การซ้อมแผนดับเพลิง-หนีไฟ
-
Checklist ดับเพลิงในสถานประกอบการ
-
เส้นทางหนีไฟ หนทางความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
-
ความปลอดภัย สภาพแวดล้อม
-
ความปลอดภัยงานเชื่อมไฟฟ้า
-
ความปลอดภัยเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ
-
ความปลอดภัยรถบรรทุกขนส่ง
-
ความปลอดภัยยานพาหนะ
-
ทางร่วมทางแยกอันตรายที่ต้องระวัง
-
กฎการขับรถอย่างปลอดภัย
-
ถุงลมเสริมความปลอดภัย เข็มขัดนิรภัย ท่านั่งขับรถ ความปลอดภัยที่ไม่ควรมองข้าม
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่
-
การเตรียมตัวก่อนทำการขับรถ
-
ความปลอดภัยรถตู้
-
จุดชาร์ตแบตเตอรี่ของรถโฟร์คลิฟท์ในตัวอาคาร มีวิธีการอย่างไร
-
วิธีเอาตัวรอด....เมื่อยางรถระเบิด เวลาขับรถ
-
จ่อคลอดกม.คุมเข้มรถบรรทุกถังแอลพีจี
-
ไฟล์อบรม และแบบทดสอบรถยกฟลอคลิท์
-
สาระน่ารู้! สิ่งที่ร้านยางไม่เคยบอก และเจ้าของรถควรรู้ การใส่ยางที่ถูกต้อง
-
เรื่องยางรถยนต์
-
กฏหมายจราจรใหม่ 2565
-
-
ความปลอดภัยรถยก
-
ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
-
ไฟล์การทำงานบนที่สูง1
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง
-
อันตรายจากนั่งร้าน
-
คู่มือ
-
คู่มือความปลอดภัยการเชื่อมภาษาพม่า
-
ข้อมูลการบริหารจัดการในภาพรวม
-
การวิเคระห์ความเสี่ยงในการก่อสร้างอาคารสูง
-
10 ขั้นตอน #ตรวจความปลอดภัยให้ได้งาน 10 Steps for a Successful Safety Site Visit
-
บันไดทำงานบนที่สูง
-
คลิปความปลอดภัยงานก่อสร้าง
-
ไฟล์ อบรมงานก่อสร้าง
-
wi การทำงานนั่งร้าน
-
Check list ทำงานบนที่สูง
-
Check list งานก่อสร้าง
-
-
ความปลอดภัยทำงานบนที่สูง
-
ความปลอดภัยที่อับอากาศ
-
ไฟล์ข้อมูลที่อับอากาศ
-
คู่มือการตรวจสุุขภาพที่อับอากาศ โดย สมาคมโรคจากการประกอบอาชี
-
15 สิ่งที่ทำงานในที่อบอากาศให้ปลอดภัย
-
มาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่อับอากาศ ตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำงาน
-
WI งานที่อับอากาศ
-
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
-
โปรเตอร์ที่อับอากาศ
-
ตัวอย่างหนังสือแต่งตั้ง ผู้อนุญาตทำงานที่อับอากาศ
-
-
ความปลอดภัยด้านหินเจียร
-
ความปลอดภัยการยกสิ่งของ
-
ความปลอดภัยด้านเครน
-
ความปลอดภัยงานเชื่อม
-
ความปลอดภัยในโรงเรียน
-
โครงการ โรงเรียนปลอดภัย
-
อุปกรณ์ส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับเด็ก
-
อุบัติเหตุในโรงเรียน
-
อันตรายจากรถตู้รับส่งเด็กนักเรียน
-
การบรรยายด้านความปลอดภัย
-
กิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียน
-
โครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ร่วมกับ โรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ)
-
อันตรายจากที่บ้าน
-
คลิปวีดีโอความปลอดภัยในโรงเรียน
-
-
Lock Out Tag Out
-
บทความ Safety
-
ความปลอดภัยในการทำงาน
-
กฏหมาย พรบ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
................................
-
อุบัติเหตุจากการทำงาน
-
อุบัติเหตุจากการทำงานและตัวอย่างแนวทางการป้องกันแก้ไข
-
อุบัติเหตุในการทำงาน
-
อุบัติเหตุตกจากที่สูง
-
อุบัติเหตุการระเบิด
-
อุบัติเหตที่เกิดจากสิ่งของ อุปกรณ์
-
อุบัติเหตุจากเครื่องจักร
-
อุบัติเหตุจากเครื่องมือ
-
อุบัติเหตุงานก่อสร้าง
-
อุบัติเหตุโรงงานไฟไหม้
-
อุบัตฺเหตุจากไฟฟ้า
-
อุบัตฺเหตุจากรถยกโฟลคลิฟท์
-
อุบัติเหตุในการทำงานส่วนอื่นๆ
-
อุบัติเหตุจากโทรศัพท์
-
อุบัติเหตุที่อับอากาศ
-
อุบัติเหตุจากแก๊ส สารเคมีไวไฟ
-
อุบัติเหตุไม่ปิดเครื่องจักรก่อนแก้ไขงาน
-
อุขัติเหตุจากงานเช่ื่อม
-
อุบัติเหตุเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
-
ถอดบทเรียนอุบัติเหตุ
-
3E และมาตรกรป้องกัน
-
-
อุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
-
อันตรายจากการใช้โทรศัพท์
-
Clip Safety & Accident
-
คลิปด้านการบริหารความปลอดภัย
-
คลิปการกระทำไม่ปลอดภัย
-
Clipเกี่ยวกับรถยก forklift
-
คลิปเกี่ยวกับการจราจร
-
คลิปเกี่ยวกับโทรศัพท์
-
คลิปเกี่ยวกับเครื่องจักร
-
คลิปเกี่ยวกับการทำงานทั่วไป
-
คลิปเกี่ยวกับไฟฟ้า
-
คลิปอบรมพนักงานใหม่
-
คลิปความปลอดภัยผู้มาเยี่ยมเยือน
-
คลิปLean Behavior Based Safety
-
คลิปเกี่ยวกับPPE อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล
-
คลิปความปลอดดภัย Warehouse
-
คลิปอันตรายบันไดเลื่อน
-
คลิปความปลอดภัยเกี่ยวกับการใช้บันไดทำงานบนทีี่สูง
-
-
................................
-
ประตูความปลอดภัย Safety Gate
-
บอร์ดความปลอดภัย
-
Safety Week
-
Safety Plan
-
สื่อความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานภาษาพม่า
-
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้าภาษาพม่า
-
การป้องกันอัคคีภัย ภาษาพม่า
-
การใช้บันไดถูกวิธี ภาษาพม่า
-
กิจกรรมรณรงค์ 5 ส. (ภาษา ไทย กัมพูชา และเมียนมาร์)
-
ความปลอดภัยเครื่องจักร ภาษาพม่า
-
โปรเตอร์ความปลอดภัยภาษาต่างประเทศ
-
งานก่อสร้าง (6ภาษา)
-
คลิปเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
-
ป้ายเตือนภายในโรงงาน ภาษาต่างด้าว
-
ป้ายงานก่อสร้าง ภาษาต่างด้าว
-
ข้อปฏิบัติการดับเพลิงและอพยพหนีไฟภาษาลาว กัมพูชาและพม่า
-
-
คู่มือความปลอดภัย
-
คู่มือความปลอดภัยของบริษัท
-
คู่มือความปลอดภัยนานาชาติ
-
คู่มือ รปภ
-
ทางหนีไฟ
-
SOP เอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure, SOP)
-
คู่มือและกฎระเบียบการปฏิบัติงานกับระบบไฟฟ้าตามที่กฎหมายกำหนด
-
คู่มือความปลอดภัยของผู้รับเหมา
-
คู่มือความปลอดภัยในการขับรถยกโฟคคลิฟท์
-
คู่มือความปลอดภัยในที่อับอากาศ
-
คู่มือความปลอดภัย 2554
-
คู่มือความปลอดดภัย สสปท
-
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานโรงงานอาหาร
-
คู่มือควบคุมดูแลสุขอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม
-
-
สิ่งแวดล้อม
-
PPE
-
ซ้อมแผนฉุกเฉิน
-
กิจกรรมดีตามบริษัทฯ
-
Safety กับหน่วยงานราชาการ
-
คปอ
-
ผู้รับเหมา
-
สำหรับน้อง จป ใหม่
-
ฝึกงานเราเรียนรู้ในเรื่องอะไร
-
รายงาน จปว
-
งาน จป
-
จป. คืออะไร
-
จป.วิชาชีพ จบใหม่ เข้าทำงานครั้งแรกต้องทำอะไรก่อน
-
ซ้อมแผนอพยพหนีไฟ
-
อบรมความปลอดภัย
-
หัวหน้างานและลูกน้อง
-
ตรวจความปลอดภัยและตรวจสภาพแวดล้อม
-
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของเครื่องจักร
-
สิ่งแวดล้อม
-
ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
สุขภาพร่างกาย
-
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
-
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นจิตสำนึกของลูกจ้าง
-
เทคนิคPresentงานให้ปังเเละมั่นใจ
-
แบบฟอร์มที่ควรนำเอาไปใช้
-
หลักสูตรที่กฏหมายบังคับในการอบรม
-
แบบแต่งตั้ง คปอ. (ใหม่)
-
โครงการโรงงานสีขาว
-
บทความกำลังใจน้อง จป
-
The Mind Map กฏหมาย จป
-
เอกสารที่ต้องส่งราชการ
-
จ่ายเงินค่าอุบัติเหตุในการทำงาน
-
แบบสปร.5
-
-
เพลงความปลอดภัย
-
คลิปไว้เสริมตอนอบรม
-
การสอนงาน
-
ตลกขำขัน คลายเคลีย
-
เรื่องอื่นที่น่าสนใจ
-
สาระน่ารู้ด้านสุขภาพ
-
วิธีสู่ความสำเร็จ
-
-
สมัครรับข่าวสาร
-
-
-
-
-
-
-
-
-
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
อันตรายจากสารเคมีเข้าตา
ผศ.พญ. วิภาวี บูรณพงศ์
ภาควิชาจักษุวิทยา
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
1. สารเคมีเข้าตาเกิดขึ้นจากสาเหตุใดบ้าง
ตอบ อุบัติเหตุจากสารเคมีเข้าตาพบได้บ่อยเสมอ ซึ่งอาจเกิดจากอุบัติเหตุจากการทำงาน
หรือจากโดนทำร้ายร่างกาย
- อุบัติเหตุจากการทำงาน เช่น โดนสารเคมีที่ใช้ในโรงงานเข้าตา เช่น โรงงานย้อม
สีผ้า หรือ โดนน้ำแบตเตอรรี่รถยนต์เข้าตา พนักงานทำความสะอาดพื้น โดนน้ำยาล้างห้อง น้ำเข้าตา บางรายได้รับสารเคมีผงคาร์บอนไดออกไซด์ เข้าตา ขณะที่ไปช่วยดับเพลิง แล้วถังคาร์บอนไดออกไซด์ระเบิด
- การโดนทำร้ายร่างกาย เช่น ใช้น้ำกรดสาดหน้า แล้วโดนตาทั้งสองข้าง
2. สารเคมีแบ่งออกเป็นกี่ประเภท มีความรุนแรงมากน้อยแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ สารเคมีโดยทั่วไปแบ่งออกเป็นสองชนิด คือ กรด และด่าง โดยทั่วไป ด่าง มีความรุนแรงมากกว่ากรด กล่าวคือ สามารถทำลายเปลือกตา เยื่อบุตา ผิวนอกของกระจกตา และยังสามารถแทรกซึมผ่านเข้าไปทำลายลูกตา ทำลายส่วนต่างๆภายในลูกตาได้ เช่น ทำให้เกิดม่านตาอักเสบ ต้อกระจก และต้อหิน ส่วนกรด การทำลายมักจะจำกัดอยู่เฉพาะบริเวณผิวชั้นนอกของลูกตา เปลือกตา เยื่อบุตา ผิวกระจกตา เนื่องจากคุณสมบัติของกรด เมื่อทำปฏิกิริยากับโปรตีนแล้ว ทำให้โปรตีนแข็งตัวรวมกัน เป็นเหมือนผนังกั้นไม่ให้กรดนั้นซึมผ่านเข้าไปในลูกตาได้อีก เพราะฉะนั้น การทำลายที่เกิดขึ้นกับกรดมักจำกัดอยู่เฉพาะบริเวณชั้นผิวตื้นๆเท่านั้น อันตรายของสารเคมีเข้าตา ขึ้นอยู่กับความรุนแรง หรือความเสียหายของส่วนประกอบต่างๆขอลูกตา ถ้าเป็นน้อยไม่รุนแรง สามาร๔หายเป็นปกติ ถ้าให้การรักษาที่ถูกต้อง และทันถ่วงที แต่ถ้ารุนแรงมากรักษายาก แม้จะรักษาเต็มที่ ก็อาจจะสูญเสียดวงตา มีภาวะแทรกซ้อนในตามากจนถึงตาบอดในที่สุด
3. ความรุนแรงของการบาดเจ็บทางตาจากสารเคมี ขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง
ตอบ ความรุนแรงของการบาดเจ็บทางตาจากสารเคมี ขึ้นอยู่กับ
- ความเป็นกรดหรือ ด่าง ด่างรุนแรงกว่ากรด
- เป็นชนิดกรดอ่อน หรือ กรดแก่ ชนิดด่างอ่อน หรือ ด่างแก่
- ความเข้มข้นของสารเคมี
- ระยะเวลาที่สารเคมีสัมผัสกับดวงตา
แม้ด่างจะรุนแรงกว่ากรด แต่ในรายกรดแก่ และมีความเข้มข้นมากก็จะมีความรุนแรงได้เท่ากับด่าง
4. กลุ่มบุคคลประเภทใด / อาชีพใดที่เสี่ยงต่อการประสบเหตุสารเคมีเข้าตา
ตอบ ส่วนใหญ่บุคคลที่ทำงานกับสารเคมี ไม่ว่าจะเป็นของเหลว หรือของแข็ง ของแข็งจะมีลักษณะเป็นผง เช่น โซดาไฟ ผงปูน ปุ๋ย ของเหลวที่เป็นสารเคมีทุกชนิด เช่น น้ำยาต่างๆในโรงงาน น้ำจากแบตเตอรี่รถยนต์ ซึ่งพบได้บ่อยมาก น้ำยาฆ่าแมลงที่ใช้ฉีดต้นไม้ นอกจากนี้ในชีวิตประจำวัน ก็อาจจะพบอุบัติเหตุจากสารเคมี เช่น ฉีดยากันยุง แล้วยากันยุงเข้าตา ล้างห้องน้ำ แล้วน้ำยาขัดห้องน้ำเข้าตา ซึ่งเป็นอุบัติเหตุที่พบบ่อย เช่นกัน
5. อาการผิดปกติที่พบเมื่อสารเคมีเข้าตา
ตอบ เมื่อสารเคมีเข้าตา ถ้าโดนเปลือกตา เยื่อบุตา กระจกตาดำ ระยะแรกจะบวมแดง ปวดแสบปวดร้อน เคืองตาน้ำตาไหลมาก และสู้แสงไม่ได้ ถ้าโดนกระจกตาดำจะทำให้สายตาพร่ามัว ถ้าตรวจตา จะพบการมองเห็นลดลง ในรายที่รุนแรงและกระจกตาดำจะเปลี่ยนจากสีดำเป็นสีขาว เยื่อบุตาอักเสบแดง และผิวหลุดลอก ในรายที่ความเสียหายของตามีมาก จะเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นทำให้เปลือกตาผิดรูปไป มีขนตาม้วนเข้าหาตา หรือม้วนออกตามากเกินไปตาแห้งชนิดรุนแรง เยื่อบุตาติดกับเปลือกตา ทำให้กรอกตาหรือเปิดเปลือกตาไม่ได้ กระจกตาเป็นฝ้าขาว มีเส้นเลือดเข้ามาในกระจกตา กระจกตาบางลงจนถึงทะลุได้ มีต้อหิน และต้อกระจกแทรกซ้อนและตาบอดในที่สุด
6. เมื่อสารเคมีเข้าตาควรทำอย่างไรเป็นอันดับแรก หรือควรมาพบแพทย์ทันทีหรือไม่
ตอบ เมื่อสารเคมีหรือสิ่งแปลกปลอมเข้าตา สิ่งที่ต้องกระทำทันที คือ การล้างตาด้วยน้ำสะอาดที่อยู่ใกล้มือที่สุด โดยตัวผู้ป่วยเองหรือผู้ที่อยู่ใกล้ชิด ถ้าหาน้ำอะไรไม่ได้ให้หาน้ำประปาล้างมากๆ ทำอยู่นาน 20 - 30 นาที ขึ้นอยู่กับสารเคมีที่เข้าตารุนแรงหรือไม่ และปริมาณสารเคมีที่เข้า การใช้น้ำล้างมากๆตั้งแต่แรก เพื่อลด หรือละลายความเข้มของสารเคมีที่เข้าตา ถือเป็นการรักษาที่สำคัญมากที่สุดและได้ผลดีที่สุด เป็นการช่วยลดความรุนแรงของสารเคมีที่จะทำลายส่วนต่างๆของตา ป้องกันไม่ให้แทรกซึมผ่านเข้าไปในลูกตา ขณะที่ล้างตา ถ้ามีสิ่งแปลกปลอมอยู่ ให้ใช้ไม้พันสำลีเช็ดออก และล้างน้ำมากๆ การล้างตาจึงจำเป็นต้องใช้น้ำสะอาดล้างทันที มากๆนานๆ ก่อนที่จะพบจักษุแพทย์ ถ้ารอพบจักษุแพทย์โดยไม่ล้างตามาก่อน สารเคมีจะซึมผ่านเข้าตา เกิดการทำลายเยื่อบุ ตากระจกตา ส่วนต่างๆของตา ทำให้เกิดความเสียหายยากต่อการรักษาแก้ไข และเมื่อมาพบ จักษุแพทย์ก็จะรีบล้างตาให้อีกครั้ง ผู้ป่วยมักจะปวดและเคืองตา จึงมักหยอดยาชาให้ก่อนแล้วใช้เครื่องมือเล็กๆถ่างเปลือกตาไว้ เพื่อให้ล้างได้สะอาด ใช้น้ำเกลือเป็นขวด ต่อสายยางจากขวดมาเปิดที่ตา ในรายที่ไม่รุนแรง จะใช้เวลาล้างตาประมาณ 30 นาที หรือใช้น้ำประมาณ 2 ลิตร ถ้ารุนแรง อาจจะต้องล้างนาน 2-4 ช.ม. หรือใช้น้ำ 8-10 ลิตร ขณะที่ล้าง แพทย์จะใช้ไม้พันสำลีเช็ดเอาสิ่งแปลกปลอมต่างๆออกจากตาให้หมด และตรวจค่าความเป็นกรดด่าง โดยใช้แผ่นกระดาษทดสอบเป็นระยะๆจะกระทั่งเป็นกลาง จึงหยุดล้าง และตรวจตาซ้ำอีกครั้ง โดยพลิกเปลือกตาดูให้ละเอียด ถ้ามีสิ่งแปลกปลอม หรือ เนื้อเยื่อที่ตายแล้วยังติดค้างอยู่ ก็ต้องเอาออกให้หมด ตรวจความเสียหายของส่วนต่างๆในตา และเริ่มให้การรักษาด้วยยาหยอดตาลดอาการอักเสบ และป้องกันการติดเชื้อ ให้ยาแก้ปวด
7. ลักษณะอาการอย่างไรที่ควรรีบมาพบแพทย์
ตอบ เมื่อสารเคมีเข้าตา ผู้ป่วยควรมาพบจักษุแพทย์ทันทีหลังจากล้างตามากๆ ด้วยน้ำสะอาดมาก่อน เพื่อให้แพทย์ล้างตาอีกครั้ง จนสภาพตาเกิดภาวะเป็นกลาง พร้อมทั้งเอาสิ่งแปลกปลอมออกให้หมด ตรวจสภาพตาว่ามีความผิดปกติที่ส่วนไหนของลูกตาบ้าง และรีบให้การรักษาทันที เพื่อลดความรุนแรงหรือความเสียหายที่เกิดภายในลูกตา ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวแล้วข้างต้น
8. ข้อควรระวังและวิธีการป้องกันไม่ให้สารเคมีเข้าตา
ตอบ การทำงานที่มีสารเคมีทุกชนิดเข้ามาเกี่ยวข้อง ผู้ปฏิบัติงานควรสวมแว่นตา หรือ หน้ากาก และสวมถุงมือไว้ป้องกันตัว และข้อที่สำคัญ ต้องทำงานด้วยความระมัดระวัง ไม่ประมาท
9. ข้อแนะนำช่วงท้ายรายการ
ตอบ อันตรายจากสารเคมีเข้าตา เป็นเรื่องที่พบกันอยู่เสมอ ความรุนแรงของอันตรายที่เกิดขึ้นในตา อาจถึงกับสูญเสียการมองเห็นอย่างถาวร การรักษาที่สำคัญและมีประสิทธิภาพมากที่สุด ช่วยลดความรุนแรงของการทำลาย และลดโอกาสเกิดตาบอด คือ การล้างตาด้วยน้ำสะอาดโดยทันที ล้างมากๆ ล้างนานๆ 20-30 นาที ต้องลืมตา และกรอกตาในน้ำ เปลี่ยนน้ำบ่อยๆ หลังจากนั้นรีบไปพบจักษุแพทย์ เพื่อรักษาทันที ก็จะช่วยให้ตาคู่สวยนั้นยังสามารถมองโลกอันสดใส สวยงามได้อีกต่อไป